Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิจิตรา จงวิศาล-
dc.contributor.advisorเดชา ฉัตรศิริเวช-
dc.contributor.authorวิศาล อิทธิฤทธานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-02-05T06:33:02Z-
dc.date.available2021-02-05T06:33:02Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746383426-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72151-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการปรับสภาพน้ำมันหม้อแปลงเป็นการนำน้ำมันหม้อแปลงที่เสื่อมสภาพแล้วมาผ่านกระบวนการทางฟิสิกส์และเคมีให้มีคุณภาพดีขึ้นจนสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (OIL RECLAMATION) การวิจัยนี้มุ่งเน้นในการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำเถ้าลอยลิกไนต์มาใช้ปรับสภาพน้ำมันหม้อแปลงในเชิงปฏิบัติ เปรียบเทียบผลการใช้งานระหว่างเถ้าลอยลิกไนต์และดินกัมมันต์ (ACTIVATED CLAY) ค่าใช้จ่ายรวมทั้งปัญหาหรืออุปสรรคในการนำมาใช้งาน น้ำมันหม้อแปลงที่จะนำมาปรับสภาพได้จะต้องมีลักษณะสมบัติอยู่ในกลุ่มที่ 3 ของมาตรฐาน IEEE และเป็นชนิดปราศจากสารพีซีบี (POLYCHLORINATED BIPHENYLS) วิธีทดลองดำเนินการใน 2 ลักษณะ คือวิธีนำเถ้าลอยลิกไนต์มากวนผสมกับน้ำมันหม้อแปลงแบบกระบวนการสัมผัส (CONTACT PROCESS) และวิธีนำน้ำมันหม้อแปลงมาผ่านถัง ซึ่งบรรจุเถ้าลอยลิกไนต์ให้เกิดการดูดซับโดยวิธีซึมผ่านด้วยความดัน (PRESSURE PERCOLATION) แล้ววิเคราะห์ เปรียบเทียบลักษณะสมบัติของน้ำมันหม้อแปลงก่อนและหลังการดำเนินการ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า เถ้าลอยลิกไนต์สามารถปรับสภาพน้ำมันหม้อแปลงเก่าให้ดีขึ้นได้เช่นเดียวกับดินกัมมันต์โดยใช้อัตราส่วนน้ำมันหม้อแปลง 200 ลิตรต่อเถ้าลอยลิกไนต์ 15 ถึง 30 กิโลกรัม ค่าใช้จ่ายเมื่อใช้เถ้าลอยลิกไนต์ประมาณ 9.36 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ค่าใช้จ่ายเมื่อใช้ดินกัมมันต์ประมาณ 11.94 บาทต่อกิโลกรัมen_US
dc.description.abstractalternativeTransformer oil Reclamation is a process to improve transformer oil quality by physical and chemical treatments until it can be reused. This research was emphasized on the feasibility study of the application of lignite fly ash for the practical oil reclamation, comparison of operation using lignite fly ash and activated clay as well as operating cost. The quality of the used transformer oil to be reclaimed must be according to the third group of IEEE standard and be of the non-PCB (Polychlorinated Biphenyls) type. Experiments were carried out in two manners. One was to mix fly ash with transformer oil (Contact Process). The other was to flow the oil through a pressure tank containing fly ash in which adsorption occurred (Pressure Percolation Process). The properties of the oil before and after each operation were analyzed and were compared. The experimental results showed that lignite fly ash could be used for oil reclamation with the optimum dosage of 15 – 30 kilograms per 200 litres of oil. The operating cost was 9.36 Baht per litre of treated oil for fly ash while the cost was 11.94 Baht for activated clay.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหม้อแปลงไฟฟ้า-
dc.subjectเถ้าลอย-
dc.subjectลิกไนต์-
dc.subjectElectric transformers-
dc.subjectFly ash-
dc.subjectLignite-
dc.titleการปรับสภาพน้ำมันหม้อแปลงโดยใช้เถ้าลอยลิกไนต์en_US
dc.title.alternativeTransformer oil reclamation using lignite fly ashen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wisarn_it_front_p.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ862.88 kBAdobe PDFView/Open
Wisarn_it_ch1_p.pdfบทที่ 1387.4 kBAdobe PDFView/Open
Wisarn_it_ch2_p.pdfบทที่ 21.49 MBAdobe PDFView/Open
Wisarn_it_ch3_p.pdfบทที่ 3428.62 kBAdobe PDFView/Open
Wisarn_it_ch4_p.pdfบทที่ 41.19 MBAdobe PDFView/Open
Wisarn_it_ch5_p.pdfบทที่ 5313.64 kBAdobe PDFView/Open
Wisarn_it_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.