Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72184
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ บารมี-
dc.contributor.advisorเรณุ ถาวโรฤทธิ์-
dc.contributor.authorระวีวรรณ แกล้วกล้า-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณทิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-02-09T04:06:43Z-
dc.date.available2021-02-09T04:06:43Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.issn9746313703-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72184-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractเซลลูโลสเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในฟางข้าว ที่ใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเอทานอล โดยปกติเซลลูโลสจะอยู่รวมกับส่วนประกอบอื่น ได้แก่ เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน ซึ่งเป็นตัวขัดขวางการเกิดปฏิกิริยาของเซลลูโลสกับเอนไซม์ในปฏิกิริยาการย่อย ดังนั้นในการผลิตจะต้องทำการแยกส่วนประกอบดังกล่าวออกจากโครงสร้างของฟางข้าว ในขั้นการปรับสภาพ ซึ่งในงานวิจัยนี้ใช้วิธีการปรับสภาพด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยพบว่าวิธีการปรับสภาพวิธีที่ดีที่สุด คือ การแช่ฟางในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 2.0 โมลาร์ เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนำไปต้มที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส นาน 90 นาที จะได้ตะกอนฟางที่มีเซลลูโลสประกอบอยู่ 94.46% เฮมิเซลลูโลส 1.24% และลินิน 2.16% จากฟางข้าวที่ไม่ผ่านการปรับสภาพ ซึ่งมีส่วนประกอบ คือ เซลลูโลส 59.47% เฮมิเซลลูโลส 4.31% และลิกนิน 21.73% ตะกอนฟางที่ได้นำไปย่อยด้วยเอนไซม์เซลลูเลส โดยใช้อัตราส่วนของเอนไซม์ต่อเซลลูโลสเท่ากับ 500 โมลาร์ ที่มีค่าสภาพความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 4.0 ที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการย่อย 16 ชั่วโมง ที่สภาวะดังกล่าวสามารถผลิตน้ำตาลรีคิวซ์ได้ 557.07 มิลลิกรัมต่อกรัมเซลลูโลส ซึ่งคิดเป็นค่าการเปรียบเทียบกับปริมาณเซลลูโลสเท่ากับ 49.58% สารละลายน้ำตาลรีคิวซ์ที่ผลิตได้หลังจากเติมสารอาหารที่จำเป็น และปรับค่าสภาพความเป็นกรด-ด่าง ให้เหมาะสมกับการเจริญของเชื้อยีสต์ Saccharomyces cerevisiae สายพันธุ์ TISTR 5013 แล้ว นำไปหมักที่อุณหภูมิห้อง ในสภาวะแบบไม่ใช้ออกซิเจน เป็นเวลา 4 วัน จะได้เอทานอลเข้มข้น 1.3% โดยปริมาตร ซึ่งสามารถเพิ่มความเข้มข้นในสูงขึ้นได้เมื่อนำไปกลั่น-
dc.description.abstractalternativeCellulose, the important component in rice straw, can be used as a precursor in the production of ethanol. The other components in rice straw such as hemicellulose and lignin are the inhibitors of the reaction between cellulose and enzyme in enzymatic hydrolysis. These must be separated in the pretreatment step. The straw was treated with 2.0 M NaOH for 24 hours at room temperature and refluxed at 70℃ for 90 minutes. The treated straw contained 94.46 % cellulose, 1.24 % hemicellulose and 2.16 % lignin, compared with the untreated straw, which contained 59.47 % cellulose, 4.31 % hemicellulose and 21.73 % lignin. The pretreated straw residue was subjected to cellulose hydrolysis at enzyme-to-cellulose ratio of 500 µ1 : 1 g, in 0.05 M sodium acetate buffer at pH 4.0 and then heated in a shaking waterbath at 55℃ for 16 hours to produce the reducing sugar to support the fermentation. The reducing sugar yield was 557.07 mg. per 1 g. of cellulose corresponding to 49.58 % of conversion based on cellulose. After the addition of the essential nutrients of yeast growth (Saccharomyces cerevisiae strain TISTR 5013) the reducing sugar solution was fermented at room temperature by anaerobic condition for 4 days. The yield of ethanol was 1.3 % by volume which can be concentrated by distillation.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเซลลูโลส -- การย่อยสลายen_US
dc.subjectฟางข้าว -- การย่อยสลายen_US
dc.subjectเฮมิเซลลูโลสen_US
dc.subjectลิกนินen_US
dc.subjectแอลกอฮอล์ -- การผลิตen_US
dc.subjectสารยับยั้งเอนไซม์en_US
dc.subjectการย่อยสลายด้วยเอ็นซัยมen_US
dc.titleการผลิตเอทานอลจากฟางข้าวen_US
dc.title.alternativeEthanol production from rice strawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Raweewan_kl_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.19 MBAdobe PDFView/Open
Raweewan_kl_ch1_p.pdfบทที่ 1666.29 kBAdobe PDFView/Open
Raweewan_kl_ch2_p.pdfบทที่ 23.16 MBAdobe PDFView/Open
Raweewan_kl_ch3_p.pdfบทที่ 31.65 MBAdobe PDFView/Open
Raweewan_kl_ch4_p.pdfบทที่ 41.6 MBAdobe PDFView/Open
Raweewan_kl_ch5_p.pdfบทที่ 51.07 MBAdobe PDFView/Open
Raweewan_kl_ch6_p.pdfบทที่ 6725.04 kBAdobe PDFView/Open
Raweewan_kl_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.