Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุรา ปานเจริญ-
dc.contributor.advisorนฤพนธ์ มัญมณี-
dc.contributor.authorสุริยัน หวังอุดม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-02-10T05:22:04Z-
dc.date.available2021-02-10T05:22:04Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741303424-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72199-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการแยกนามันหล่อลื่นพื้นฐานและเทกซ์ออกจากแวกซ์ดิสทิลเลตโดยกระบวนการสเวตติง ซึ่งแวกซ์ดิสทิลเลตเป็นผลพลอยไต้จากการกลั่นน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน แวกซ์ดิสทิลเลตที่ได้มีปริมาณน้ำมันปนอยู่สูงกว่าค่าที่ตลาดต้องการ ดังนั้นจึงต้องทำการแยกนํ้ามันออกจากการศึกษาพบว่าต้องทำการสเวตถึงสองครั้งในแต่ละสารตัวอย่าง เพื่อให้ได้ค่าเปอร์เซ็นต์น้ำมันที่ปนอยู่ในแวกซ์ตามต้องการ โดยตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วย ช่วงอุณหภูมิที่ใช้สเวต เวลาที่ใช้สเวต และอัตราการให้ความร้อน ช่วงอุณหภูมิที่ใช้สเวตมีผลต่อการแยกน้ำมันจากแวกซ์ดิสทิลเลตมากที่สุดคือ ถ้าใช้อุณหภูมิที่ไม่เหมาะสมทำให้การสเวตเกิดขึ้นได้ไม่ดี ส่งผลต่อผลผลิตร้อยละของแวกซ์ สำหรับแวกซ์ดิสบิลเลตเกรด 60 N ช่วงอุณหภูมิที่ใช้สเวตครั้งที่ 1 คือ 30-48 องศาเซลเซียส และ 36-48 องศาเซลเซียสสำหรับการสเวตครั้งที่ 2 สำหรับแวกซ์ดิสบิลเลตเกรด 150 N ช่วงอุณหภูมิที่ใช้สเวตครั้งที่ 1 คือ 34-53 องศาเซลเซียส และ 40-53 องศาเซลเซียสสำหรับการสเวตครั้ง ที่ 2 รองลงมาคือเวลาที่ใช้สเวต ถ้าใช้เวลามากไปทำให้สิ้นเปลืองพลังงานมาก จากการทดลองเวลาที่เหมาะสมในการสเวตครั้งที่ 1 คือ 12 ชั่วโมง และการสเวตครั้งที่ 2 คือ 12 ชั่วโมง ทำให้ได้ค่า เปอร์เซ็นต์นำมันที่เหลืออยู่ในแวกซ์เท่ากับ 0.68 เปอร์เซ็นต์ และ0.60 เปอร์เซ็นต์สำหรับแวกซ์ดิสบิลเลตเกรด 60N และ 150N ตามลำดับ ซึ่งมีคุณภาพดีกว่าที่ตลาดต้องการ ซึ่งค่ามาตรฐานกำหนดไว้ที่ 1.0 เปอร์เซ็นต์ สำหรับแวกซ์ดิสทิลเลตเกรด 500N และ 150BS พบว่าไม่สามารถแยกนั้ามันออกจากแวกซ์,ได้ด้วยกระบวนการนี้ ในส่วนของอัตราการให้ความร้อนก็เป็นตัวแปรที่สำคัญตัวหนึ่ง ที่อัตราการให้ความร้อนตํ่าจะให้ปริมาณของผลิตภัณฑ์ชุดท้ายสูงen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis studied the recovery of lube base oil and wax from wax distillate by sweating process. Wax distillate is by-product of lube base oil distillation. Its oil content is higher than that of market requirement. Thus oil needs to be separated. According to this study, each sample needs to be sweated twice. In order to obtain the satisfactory percentage of oil content. The parameter considered in the study comprises sweating temperature interval, sweating time and heating rate. Sweating temperature interval affects the most on separating oil from wax distillate. Inappropriate temperature led to poor sweat, then affected to percent yield of wax. Moreover, for wax distillate 60N in the first sweating temperature interval is 30-48 ℃ and second sweating is 36-48 ℃. For wax distillate 150N in the first sweating temperature interval is 34-53 ℃ and the second one is 40-53 ℃. Sweating time is of minor effect to the process. If spending too much time, will be wasted energy. From the experiment, the appropriate sweating time, for the 1st sweating is 12 hours, and the 2nd sweating, 12 hours. The percentage of oil content in the final wax distillate are 0.68 percent and 0.60 percent for 60N and 150N respectively which yield better product quality than market requirement, the standard value requires 1.0 percent oil content. Wax distillate 500N and 150BS, was found that the oil can not be separated by this process. Finally, heating rate is also was important parameter. Low heating rate yields better final product quantity.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำมันหล่อลื่นen_US
dc.subjectแวกซ์en_US
dc.subjectการหล่อลื่นและตัวหล่อลื่นen_US
dc.titleการนำกลับมาซึ่งน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานและแวกซ์ดิสทิลเลต โดยกระบวนการสเวตติงen_US
dc.title.alternativeRecovery of lube base oil and wax from wax distillate by the sweating processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorUra.P@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suriyun_wh_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.22 MBAdobe PDFView/Open
Suriyun_wh_ch1_p.pdfบทที่ 1686.62 kBAdobe PDFView/Open
Suriyun_wh_ch2_p.pdfบทที่ 21.46 MBAdobe PDFView/Open
Suriyun_wh_ch3_p.pdfบทที่ 31.55 MBAdobe PDFView/Open
Suriyun_wh_ch4_p.pdfบทที่ 42.89 MBAdobe PDFView/Open
Suriyun_wh_ch5_p.pdfบทที่ 5666.83 kBAdobe PDFView/Open
Suriyun_wh_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.