Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7234
Title: Relationship between fluidity and microstructure of aluminum silicon alloy
Other Titles: ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการไหลและโครงสร้างจุลภาคของโลหะผสมอะลูมิเนียมซิลิกอน
Authors: Tran Duc Huy
Advisors: Ittipon Diewwanit
Umeda, Takteru
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Ittipon.D@chula.ac.th, fmtidw@kankrow.eng.chula.ac.th
umeda@kankrow.eng.chula.ac.th
Subjects: Aluminum alloys -- Solidification
Aluminum alloys -- Fluidity
Metal castings
Issue Date: 2003
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Fluidity of casting alloys is defined as the ability of molten metal to fill mold cavity completely. In this research, fluidity of aluminum alloy grade AC2B, AC4CH, AC4B, AC9A, ADC12, and ADC14 was measured using reducing vacuum technique. Other parameters such as tube materials (copper, stainless steel, and quartz), tube diameters (from 2 mm to 6 mm), applied suction pressure (from 1.33 to 95 kPa), and degree of superheat (from 0 to 120 K) are investigated. Fluidity length of every alloy and condition varies linearly with the square root of suction pressure. Alloys with high silicon content exhibit higher fluidity. Effective suction pressure, defined as applied suction pressure minus gravity and surface energy terms, varies linearly with fluidity. Theoretical analysis indicates that the surface energy can be calculated from the experiments by fitting with curves which pass through the origin. Minimum applied suction pressure required to suck the liquid was calculated and is in the range from 40 to 200 Pa depending on the type of alloys. Microstructure of solidified specimen in the tubes was observed and agrees with the fine channel flow mechanism proposed earlier by Flemings.
Other Abstract: ความสามารถในการไหลของโลหะผสมหล่อสามารถนิยามได้ว่าคือ ความสามารถของน้ำโลหะหลอมเหลวที่ไหลเข้าไปเติมเต็มช่องว่างในแบบหล่อได้อย่างสมบูรณ์ ในการศึกษานี้ได้ตรวจวัดความสามารถในการไหลของโลหะอะลูมิเนียมผสมประกอบด้วยเกรด AC2B, AC4CH, AC4B, AC9A, ADC12 และ ADC14 ด้วยวิธีดูดน้ำโลหะเข้าท่อภายใต้ความดันลด ตัวแปรต่างๆ ที่ควบคุมในการศึกษานี้ได้แก่ ชนิดวัสดุที่ใช้ทำท่อ (เหล็กกล้าไร้สนิม ทองแดง และควอทซ์) เส้นผ่านศูนย์กลางภายในของท่อ (ระหว่าง 2-6 มิลลิเมตร) ความดันต่างที่ใช้ดูดน้ำโลหะ (ระหว่าง 1.33-95 กิโลปาสกาล) และระดับของการให้ความร้อนเหนือจุดหลอมเหลว (ระหว่าง 0-120 เคลวิน) ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ความสามารถในการไหลของโลหะอะลูมิเนียมทุกเกรด แปรผันตรงกับรากที่สองของความดันที่ใช้สำหรับดูดน้ำโลหะ (applied suction pressure) ในทุกสภาวะการทดลอง ความสามารถในการไหลของโลหะผสมอะลูมิเนียมซิลิคอนที่มีปริมาณซิลิคอนมากกว่า จะมีความสามารถในการไหลสูงขึ้น และเมื่อนิยามค่าความดันประสิทธิผล (effective suction pressure) จากผลต่างของความดันที่ใช้ดูดน้ำโลหะ กับพจน์ของความดันต้านอันเนื่องจากแรงโน้มถ่วงและพลังงานพื้นผิว ความดันประสิทธิผลจะแปรผันตรงกับความสามารถในการไหล ในทางทฤษฎีสามารถคำนวณพลังงานพื้นผิวได้จากผลการทดลองนี้ โดยใช้สมการถดถอยเชิงเส้นที่ผ่านจุดกำเนิดค่าความดันที่น้อยที่สุด ที่สามารถดูดน้ำโลหะอะลูมิเนียมผสมมีค่าอยู่ระหว่าง 40 ถึง 200 ปาสกาล โครงสร้างจุลภาคของชิ้นงานทดสอบที่แข็งตัวแล้ว เป็นไปตามทฤษฎีและกลไกการไหลของน้ำโลหะผ่านช่องของเหลวแคบ ดังที่เสนอก่อนหน้านี้โดย Flemings
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2003
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Metallurgical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7234
ISBN: 9741748159
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TranDucHuy.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.