Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72374
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพียรพรรค ทัศคร-
dc.contributor.advisorสุเมธ ชวเดช-
dc.contributor.authorอโณชา เกตุเวชช์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-02-23T09:47:53Z-
dc.date.available2021-02-23T09:47:53Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743313907-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72374-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อหาสภาวะการทำงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการบำบัดน้ำเสียจากสถานีบริการน้ำมันโดยระบบฟองลอย สารเคมีที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สารลดแรงตึงผิวและสารโคแอกกูแลนท์ โดยสารลดแรงตึงผิวที่ใช้ ได้แก่ โซเดียมโดเคดซิลซัลเฟต (เอสดีเดส) โดเดคซิลไทรเมทิลแอมโมเนียมโบรไมด์ (ดีทีเอบี) และโนนิลฟินอลเอทอกซีเลต (ทีอีอาร์ไอซี เอ็น 10 ) สารโคแอกกูแลนท์ที่ใช้ ได้แก่ แคทอิออนิกพอลิอิเล็คโทรไลต์ (โนวัส ซีอี 2680 พอลิเมอร์ 1154 แอล) แอนอิออนิกพอลิอิเล็คโทรไลต์ (เคมิฟลอค วีเอช 1007) นอนอิออนิกพอลิอิเล็คโทรไลต์ (เคมิฟลอค 720 ) และเกลือเฟอร์ริกคลอไรด์อุปกรณ์ทดลองระบบฟองลอยเป็นแบบคอลัมน์และแบบถัง โดยแบบคอลัมน์นั้นเป็นหลอดแก้ว มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร และสูง 118 เซนติเมตร ฟองอากาศมาจากการพ่นอากาศผ่านแผ่นเม็ดแล้ว (ซินเทอร์กลาส) ที่ฐานคอลัมน์ ส่วนระบบฟองลอยแบบถังทำด้วยวัสดุเหล็กไร้สนิม แบ่งเป็น 3 ส่วน มีความจุรวม 16 ลิตร ส่วนบนของถังมีเครื่องกวาดฟอง จากผลการทดลองพบว่า ปริสิทธิภาพการแยกน้ำมันขึ้นอยู่กับเวลาเก็บกักอัราการเป่าอากาศ ชนิดและความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ โดยสารแคทอิออนิกพอลิอิเล็คโทรไลต์ (โนวัส ซีอี 2680 ) ให้ประสิทธิภาพการแยกน้ำมันสูงสุด สภาวะการทำงานที่เหมาะสมสำหรับรับบำบัดน้ำเสียจากสถานีบริการน้ำมัน ได้แก่ เวลาเก็บกัก 30 นาที อัตราการเป่าอากาศเท่ากับ 5.55x10³ม³/ม³ ของเหลว-วินาที และความเข้มข้นของสารแคทอิออนิกพอลิอิเล็คโทรไลต์ (วีนัส ซีอี 2680) เท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งจะให้ประสิทธิภาพการแยกน้ำมันสูงสุด เท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการแยกน้ำมันของระบบฟองลอยทั้งสองแบบ พบว่าแบบคอลัมน์ให้ประสิทธิภาพการแยกน้ำมันสูงกว่าแบบถังอย่างมากen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to determine the optimum conditions for maximum oil removal in treating the petrol-station wastewater by using froth flotation. Chemicals used in this experimental work were classified into 2 types : surfactants and coagulants. The surfactants studied were sodium dodecylsulfate (SDS). Dodecyltrimethyt ammonium dromlde (DTAB) and nonylphenol ethoxylate (Teric N10). The coagulants used in this study were cationic polyelectrolytes (Novous CE2680, polyrmer 1192 and polymer 1154L), anionic polyetectrolyte (Qemifioc 720) and ferric chloride ( FeCl₃ ). In this experiment, two types of froth flotation were column and tank to be tested. The flotation column made of glass had 5 and 118 centimeters in diameter and height, respectively. The air bubbles were generated by passing air through the sintered glass plate at the bottom of the column. The flotation tank made of stainless steel had three compartments in series, total working volume of 16 liters and a scraper on the top of the flotation tank for removal of the foam. From the experimental results, it was found that the treatment efficiency depended upon the hydraulic retention time, the flow rate of air, type and concentration of chemical used. An addition of cationic polyelectrolyte (Novous CE 2680) gave the highest treatment efficiency of oil removal. The optimum conditions for treating the petrol-station wastewater were HRT of 30 min, air flowrate of 5.55x10³m³/m³ liquid-s and the cationic polyelectrolyte (Novous CE 2680) of 100 mg/l that gave the 100% highest oil separation. In comparison with the two froth flotation systems, the flotation column gave much higher efficiency in oil removal than the flotation tank.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดน้ำมัน-
dc.subjectสารลดแรงตึงผิว-
dc.subjectSewage -- Purification -- Oil removal-
dc.subjectSurface active agents-
dc.titleการบำบัดน้ำเสียจากสถานีบริการน้ำมันโดยระบบฟองลอยen_US
dc.title.alternativeTreatment of petrol-station wastewater by froth flotationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anocha_ge_front_p.pdfหน้าปก สารบัญและบทคัดย่อ762.03 kBAdobe PDFView/Open
Anocha_ge_ch1_p.pdfบทที่ 1315.75 kBAdobe PDFView/Open
Anocha_ge_ch2_p.pdfบทที่ 21.44 MBAdobe PDFView/Open
Anocha_ge_ch3_p.pdfบทที่ 3751.71 kBAdobe PDFView/Open
Anocha_ge_ch4_p.pdfบทที่ 41.51 MBAdobe PDFView/Open
Anocha_ge_ch5_p.pdfบทที่ 5294.8 kBAdobe PDFView/Open
Anocha_ge_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก3.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.