Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72718
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์ | - |
dc.contributor.author | คำรณ หลำเจริญสุข | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-09T04:44:39Z | - |
dc.date.available | 2021-03-09T04:44:39Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746378481 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72718 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นของครูศิลปศึกษา เกี่ยวกับการสอนศิลปศึกษา ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยอิงแนวคิดการสอนของอาเธอร์ เอฟแลนด์ (Arthur D.Efland, 1979) ในด้านความคิดเห็นที่มีต่อความหมายของศิลปะ ศิลปศึกษา และองค์ประกอบทางการสอนศิลปศึกษา 6 ด้าน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ ครูศิลปศึกษา จำนวน 178 คน จากโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 213 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วยแบบตรวจสอบรายการ แบบประเมินค่า และคำถามแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ครูศิลปศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอนศิลปศึกษาในแต่ละด้านมีระดับดังนี้ 1) ด้านความคิดเห็นที่มีต่อความหมายศิลปะและศิลปศึกษาอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งในทฤษฎี เอกช์เพรสซีฟและทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และไม่แน่ใจในทฤษฎีมิเมติกและทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ส่วนองค์ประกอบทางการสอนศิลปศึกษาทั้งหกด้าน พบว่า 1) ด้านหลักสูตรอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งในทฤษฎีเอกซ์เพรสซีฟและทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และไม่แน่ใจในทฤษฎีมิเมติกและทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 2) ด้านครูอยู่ในระดับเห็นด้วย อย่างยิ่งในทฤษฎีเอกซ์เพรสซีฟและทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และไม่แน่ใจ ในทฤษฎีมิเมติกและทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 3) ด้านนักเรียนอยู่ในระดับเห็นด้วยในทฤษฎีเอกซ์เพรสซีฟและทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และไม่แน่ใจทฤษฎีมิเมติกและทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 4) ด้านวิธีสอนอยู่ในระดับเห็นด้วยในทฤษฎีเอกช์เพรสซีฟและทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และไม่แน่ใจใน ทฤษฎีมิเมติกและทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 5) ด้านสื่อการสอนอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งในทฤษฎีเอกช์เพรสซีฟและทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และไม่แน่ใจในทฤษฎีมิเมติกและทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 6) ด้านการวัดและประเมินผลอยู่ในระดับเห็นด้วยในทฤษฎีเอกช์เพรสซีฟและทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และไม่แน่ใจในทฤษฎีมิเมติกและทฤษฎีพฤติกรรมนิยม | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to survey the opionions of art education teachers concerning art education teaching in elementary schools under the jurisdiction of Bangkok Metropolitan administration. The study was based on teaching concept of Arthur Efland in these aspects : opinions, meaning of art and art education, and the six elements of art education teaching. The sample were 178 art education teachers from 213 schools under the jurisdiction of Bangkok Metropolitan Administration. The research instrument was questionnaire conducted by the researcher which consisted of check-list, rating scale and open-ended form. The data were analyzed by mean of percentage, means, and standard diviation. The result of research, it was found that the opinions concerning the meaning of art and art education were at the level of highest agreement in Expressive theory and Psychoanalytic psychology theory, and uncertain in Mimatic theory and Behavioralism psychology and the opinions concerning the element of art education teaching in six aspects were as these following : 1. The curriculum, the opinions were at the level of highest agreement in Expressive theory and Psychoanalytic Psychology, and uncertain in Mimetic theory and Behavioralism psychology 2. The teachers, the opinions were at the level of highest agreement in Expnresive theory and Psychoanalytic psychology, and uncertain in Mimetic theroy and Behavioralism psychology 3. The students, the opinions were at the level of highest agreement in Expressive theory and psychoanalytic psychology, and uncertain in Mimetic theory and Behavioralism psychology. 4. The teaching methods, the opinions were at the level of highest agreement in Expressive theory and Psychoanalytic psychology, and uncertain in Mimetic theory and Behavioralism psychology 5. The teaching materials, the opinions were at the level of highest agreement in Expressive theory and Psychoanalytic psychology, and uncertain in Mimetic theory and Behavioralism psychology and 6. The measurement and evaluation, the opinions were at the level of agreement in Expressive theory and Psychoanalytic psychology, and uncertain in Mimetic theory and Behavioralism psychology. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1997.288 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ครูศิลปศึกษา | en_US |
dc.subject | ศิลปกรรม -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | en_US |
dc.subject | Art teachers | en_US |
dc.subject | Art -- Study and teaching (Elementary) | en_US |
dc.title | ความคิดเห็นของครูศิลปศึกษาเกี่ยวกับการสอนศิลปศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Opinions of art education teachers concerning art education teaching in elementary schools under the jurisdiction of Bangkok Metropolitan Administration | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ศิลปศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Poonarat.P@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1997.288 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Komlon_lo_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 900.32 kB | Adobe PDF | View/Open |
Komlon_lo_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 860.04 kB | Adobe PDF | View/Open |
Komlon_lo_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 3.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Komlon_lo_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 756.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
Komlon_lo_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Komlon_lo_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Komlon_lo_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 1.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.