Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7323
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง-
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.authorกิจจา บานชื่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-06-30T10:13:12Z-
dc.date.available2008-06-30T10:13:12Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746351389-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7323-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาเกณฑ์การติดตามผลการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา ในด้านการติดตามผลการเรียนรู้ การติดตามผลพฤติกรรม และการติดตามผลลัพธ์ที่มีต่อองค์การ และ (2) เพื่อประเมินความเหมาะสมของเกณฑ์ และความเป็นไปได้ในการนำเกณฑ์ไปใช้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 22 คน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ (1) ผู้เชี่ยวชาญที่มีหน้าที่ในการบริหารงานฝึกอบรมด้านการผลิตวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา จำนวน 6 คน (2) คณะกรรมการผู้จัดการฝึกอบรมด้านการผลิตวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา จำนวน 10 คน และ (3) อาจารย์ผู้สอนวิชาการผลิตรายการวีดิทัศน์เพื่อการศึกษาจำนวน 6 คน การวิจัยครั้งนี้ใช้เทคนิควิธีวิจัยแบบเดลฟาย ให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็น จำนวน 2 รอบ โดยใช้แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 89 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ โดยกำหนดว่า ข้อความที่เป็นเกณฑ์ ต้องมีค่ามัธยฐานเท่ากับ หรือมากกว่า 3.50 และมีค่าพิสัยระหว่างควอไทล์เท่ากับหรือน้อยกว่า 1.50 ผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องของความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญในรอบสุดท้าย ทำให้ได้ข้อความที่เป็นเกณฑ์ จำนวน 65 ข้อ แยกเป็นเกณฑ์การติดตามผลการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา แต่ละด้านดังนี้ (1) เกณฑ์การติดตามผลการฝึกอบรม ด้านการเรียนรู้ จำนวน 40 ข้อ (2) เกณฑ์การติดตามผลการฝึกอบรม ด้านพฤติกรรม จำนวน 19 ข้อ (3) เกณฑ์การติดตามผลการฝึกอบรม ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อองค์การ จำนวน 6 ข้อ ผู้บริหารสถาบันการศึกษา จำนวน 5 คน ที่เคยจัดส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมด้านการผลิตวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา ทำการประเมินเกณฑ์ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ข้อความที่ผ่านการยอมรับ ต้องมีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า 3.50 ผลการประเมินพบว่า ข้อความทั้ง 65 ข้อ ผ่านการยอมรับจากผู้บริหารสถาบันการศึกษาว่า มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop the evaluative follow-up criteria for workshop on educational videotape production focused on learning, behavior, and result and (2) to evaluate the criteria for its appropriateness and usability. The sample consisted of 22 experts categorized into 3 groups: (1) six trainers participated in administrative activities of videotape production, (2) ten members of videotape production training committee, and (3) six lecturers teaching educational videotape production course. The Delphi Technique was designed to generate group consensus by using five-rating-scale questionnaire. The sample was asked to rate 89 statements by two rounds. The median and interquatile range were used to analyze the data. Findings were considered as the criteria when the median value was equal to or more than 3.50 and the interquatile range was equal to or less than 1.50. The 65 statements of group final consensus were considered as the evaluative follow-up criteria for workshop on educational videotape production. They were: (1) 40 items for the follow-up of learning (2) 19 items for the follow-up of behavior (3) 6 items for the follow-up of result. The developed criteria was evaluated by five educational executives whose organizations personel attended video production workshops. The five-rating-scale questionnaire was used to collect the data. Finding were accepted when the mean value was equal to or more than 3.50. All of 65 statements were approved as appropriate and usable criteriaen
dc.format.extent803174 bytes-
dc.format.extent844675 bytes-
dc.format.extent1392128 bytes-
dc.format.extent851634 bytes-
dc.format.extent1055528 bytes-
dc.format.extent985586 bytes-
dc.format.extent1474533 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการฝึกอบรม -- การติดตามผลen
dc.subjectวีดิทัศน์เพื่อการศึกษาen
dc.titleการพัฒนาเกณฑ์การติดตามผลการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การผลิตวีดิทัศน์เพื่อการศึกษาen
dc.title.alternativeThe development of a follow-up criteria for workshop on educational videotape productionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorOnjaree.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kijia_Ba_front.pdf784.35 kBAdobe PDFView/Open
Kijia_Ba_ch1.pdf824.88 kBAdobe PDFView/Open
Kijia_Ba_ch2.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open
Kijia_Ba_ch3.pdf831.67 kBAdobe PDFView/Open
Kijia_Ba_ch4.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Kijia_Ba_ch5.pdf962.49 kBAdobe PDFView/Open
Kijia_Ba_back.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.