Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73352
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพิม ศุภศันสนีย์-
dc.contributor.authorรุ่งนภา ชั้นแจ่ม-
dc.date.accessioned2021-05-13T02:59:40Z-
dc.date.available2021-05-13T02:59:40Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743463356-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73352-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractการวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของการฝึกพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมต่อพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสม และสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในทีมสุขภาพของพยาบาล โดยเปรียบเทียบพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมและสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในทีมสุขภาพของพยาบาลระหว่างกลุ่มที่ได้รับการฝึกพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสม กับกลุ่มที่ทำงานตามปกติประชากรเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงานา -3 ปี ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลตำรวจจำนวน 40 คน ที่มีผลการประเมินพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมสำหรับพยาบาลระหว่างลำดับที่ 100-60 แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบประเมินพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมสำหรับพยาบาล แบบประเมินสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในทีมสุขภาพ และโปรแกรมการฝึกพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมสำหรับพยาบาลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น การวิจัยนิใช้รูปแบบการทดลองแบบทดสอบก่อนและหลังการทดลองโดยมีกลุ่มควบคุมการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนที่เปลี่ยนแปลงไปหลังทดลองของกลุ่มทดลองและทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้ค่าที (1 - test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. พฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมและสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลที่ได้รับการฝึกพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. พฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมและสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในทีมสุขภาพของพยาบาลที่ได้รับการฝึกพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมมากกว่ากลุ่มที่ทำงาตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study effects of using assertive training program for staff nurses, and compare assertive behavior and interpersonal relation in health team between the experimental group who received the assertive training program and control group. Population in this study were staff nurses who work in hospital. Sample were 40 nurses working in Police General Hospital with 1-3 year of working experience who ranked as the 100 - 60 of the top down ranking of test score. They were then randomly and equally assigned into an experimental and control group each of which contains 20 samples. The research instruments were Nursing Assertive Inventory, Interpersonal Relation เท Heath team Inventory and assertive training program for nurses constructed by the researcher. The control group pre test-posttest design was used. The t - test was utilized for data analysis at the .01 level of significance. The finding revealed that : 1. The assertive behavior and interpersonal relationship เท health team of staff nurses after being trained by assertive training program were higher to prior to training at the .01 level of statistical significance. 2. The assertive behavior and interpersonal relationship in health team of staff nurses after being trained by assertive training program were higher than those who did not receive assertive training program, at the .01 level of statistical significance.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.65-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแสดงออก (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลen_US
dc.subjectพยาบาลen_US
dc.subjectAssertiveness (Psychology)en_US
dc.subjectInterpersonal relationsen_US
dc.subjectNursesen_US
dc.titleผลการฝึกพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมต่อพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมและสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในทีมสุขภาพของพยาบาลen_US
dc.title.alternativeEffects of using assertive training program on staff nurses' assertive behavior and interpersonal relation in health teamen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPrapim.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.65-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungnapa_ch_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ832.77 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1837.58 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_ch_ch2_p.pdfบทที่ 23.34 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_ch_ch3_p.pdfบทที่ 31.12 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_ch_ch4_p.pdfบทที่ 4694 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_ch_ch5_p.pdfบทที่ 5980.13 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_ch_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.