Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73529
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิศา ชูโต-
dc.contributor.authorวรรณี แกมเกตุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-05-25T03:51:41Z-
dc.date.available2021-05-25T03:51:41Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745822467-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73529-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง และทดสอบตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของตัวแปร เกี่ยวกับ ภูมิหลังของผู้ปกครองและตัวแปร เกี่ยวกับนักเรียน ที่มีอิทธิพลต่อการเลือกสถานศึกษาสำหรับบุตรของ ผู้ปกครองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในภาคกลาง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างผู้ปกครองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ปีการศึกษา 2534 ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านที่มีโรงเรียนโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่ในภาคกลางจานวน 417 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ชนิดมี โครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 1. ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุตามสมมุติฐานยังไม่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 2. ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างมี นัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 (P < 0.5) มีลักษณะดังนี้ 2.1 ตัวแปรที่มีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการเลือกสถานศึกษาสาหรับบุตรของ ผู้ปกครองคือ รายได้ของผู้ปกครอง ความคาดหวังของผู้ปกครอง เกี่ยวกับระดับการศึกษาสูงสุดของบุตร ระดับผลการเรียน เดิมของบุตร และสถานศึกษาที่บุตรต้องการ เข้าเรียน 2.2 ตัวแปรที่มีผลกระทบทางตรงต่อการเลือกสถานศึกษาสถานศึกษาสำหรับบุตรของ ผู้ปกครอง คือ ความคาดหวัง เกี่ยวกับอรรถประโยชน์ของสถานศึกษา 2.3 ตัวแปรที่มีผลกระทบทางอ้อมต่อการเลือกสถานศึกษาสำหรับบุตรของผู้ปกครอง คือ ระดับการศึกษาของผู้ปกครอง ขนาดพื้นที่ถือครองที่มีกรรมสิทธิ์ ความต้องการศึกษาต่อชั้นสูงสุดของบุตร เจตคติของผู้ปกครองต่อการศึกษาต่อ จานวนบุตรที่ เรียนสูงกว่าการศึกษาภาคบังคับ ความต้องการใช้ แรงงานจากบุตร และขนาดครอบครัว 3. ตัวแปรที่มีปริมาณผลกระทบทางตรงต่อการเลือกสถานศึกษาสำหรับบุตรของผู้ปกครองสูงสุด คือ ความคาดหวังเกี่ยวกับอรรถประโยชน์ของสถานศึกษา (.9565) รองลงมาคือ สถานศึกษาที่บุตร ต้องการเข้าเรียน (.7314) 4. ตัวแปรที่มีปริมาณผลกระทบทางอ้อมต่อการเลือกสถานศึกษาสำหรับบุตรของผู้ปกครองสูงสุด คือ รายได้ของผู้ปกครอง (.9784) รองลงมาคือ ระดับผลการเรียน เดิมของบุตร (.7800) 5. ตัวแปรที่มีปริมาณผลกระทบรวมต่อการ เลือกสถานศึกษาสำหรับบุตรของผู้ปกครองสูงสุด คือ รายได้ของผู้ปกครอง (1.6372) รองลงมาคือ ความคาดหวังของผู้ปกครองเกี่ยวกับระดับการศึกษา สูงสุดของบุตร (1.1382) ส่วนตัวแปรที่มีปริมาณผลกระทบรวมต่ำสุด คือ ขนาดครอบครัว (-.0650)-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to construct and test the causal relationships model of parents' background related variables and student related variables on influencing parents' school choice for lower secondary education students. The sample consisted of 417 parents of Mathayom Suksa one students of academic year 1991 under Basic Education Extension Project School in the Central Region. The data were collected by interviewing. A path analysis was applied to analyze. The major findings were as follows.1. The hypothesized causal relationships model was inconsistent with the empirical data. 2. The causal relationships model which was significantly consistent with the empirical data at .05 level (P < .05) were as follow : 2.1 Parents' school choice was both directly and indirectly effected by parents' income, parents' expectation concerning of children's educational level, children's grade point average in Prathom Suksa six and children's school preference. 2.2 Parents' school choice was directly effected by parents' utility expectation from school. 2.3 Parents' school choice was indirectly effected by parents' educational level, landholding, children's need for further study, parents attitude toward further study, numbers of students' sibling who attend school beyond compulsory education, family's need for child labor and family size. 3. Parents' utility expectation from school had the highest direct effect (.9565) on parents' school choice, the followed by children's school preference (.7314) 4. Parents' income had the highest indirect effect (.9784) on parents' school choice, the followed by children's grade point average in Prathom Suksa six (.7800). 5. Parents' income had the highest total effect (1.6372) on parents' school choice, the followed by parents' expectation concerning of children's educational level (1,1382) but family size had the lowest total effect (-.0650).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบิดามารดาen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นมัธยมen_US
dc.subjectการศึกษา -- การมีส่วนร่วมของบิดามารดาen_US
dc.subjectParentsen_US
dc.subjectEducation, Secondaryen_US
dc.subjectEducation -- Parent participationen_US
dc.titleความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการเลือกสถานศึกษาสำหรับบุตรของผู้ปกครองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในภาคกลาง : การวิเคราะห์เส้นทางen_US
dc.title.alternativeCausal relationships on variables influencing parents' school choice for lower secondary education students in the central region : a path analysisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNisa.X@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wannee_ka_front_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_ka_ch1_p.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_ka_ch2_p.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_ka_ch3_p.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_ka_ch4_p.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_ka_ch5_p.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_ka_back_p.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.