Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7352
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorบงกช อักษรดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-07-01T06:37:33Z-
dc.date.available2008-07-01T06:37:33Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746358332-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7352-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractวิเคราะห์กลยุทธ์การสื่อสารของรายการ "เรารักศิลปวัฒนธรรมไทย" ที่ออกอากาศในช่วงการนำเสนอข่าวภาคค่ำ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทับพก (ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2537 - เดือนกรกฎาคม 2539) และเพื่อประเมินรายการ "เรารักศิลปวัฒนธรรมไทย" จากทัศนะของผู้รับสารโดยใช้กรอบทฤษฎีการรณรงค์ทางการตลาดเพื่อสังคม และแนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของสื่อมวลชน ในการทำงานด้านวัฒนธรรมมาใช้ เป็นเกณฑ์ในการวิเคราะห์กลยุทธ์การสื่อสารของรายการ ผลการวิจัย พบว่า ในด้านกลยุทธ์การคัดเลือกเนื้อหาของรายการ เนื่องจากทีมงานผู้ผลิตขาดการวางแผนด้านกลยุทธ์การสื่อสารที่ชัดเจน ในการตอบสนองวัตถุประสงค์ในการรณรงค์ทางวัฒนธรรมตามมติของ สวช. และไม่มีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่เด่นชัดในการผลิตรายการ รวมทั้งบุคลากรยังขาดความเชี่ยวชาญในการสื่อความหมายทางวัฒนธรรม ทำให้การนำเสนอเนื้อหาของรายการ ไม่สามารถครอบคลุมขอบข่ายทางวัฒนธรรมทั้ง 11 ประการ ตามที่ สวช. กำหนด และในการนำเสนอข้อมูลทางวัฒนธรรมในรายการยังมีความไม่ถูกต้องบางประการ และไม่มีความลุ่มลึกในรายละเอียดเท่าที่ควร ในด้านรูปแบบการนำเสนอ ผู้รับสารทั่วไปมีความเห็นว่า ความถี่ในการออกอากาศ เวลาในการนำเสนอรายการและความยาวของรายการอยู่ในเกณฑ์ดี ส่วนผลที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้รับสาร จากการประเมินทัศนะของผู้รับสารและผู้เชี่ยวชาญทางวัฒนธรรม ส่วนใหญ่มีความเห็นว่า หลังจากรับชมรายการแล้ว ทำให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทยมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับเป้าประสงค์ของการสื่อสารที่ทีมงานผู้ผลิตได้ตั้งไว้ ทั้งจากผลการวิเคราะห์กลยุทธ์การสื่อสาร ในรายการและการประเมินทัศนะของผู้รับสาร อาจกล่าวได้ว่า ภายในช่วงเวลาการนำเสนอตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2537 - เดือนกรกฎาคม 2539 รายการสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในระดับที่ทำให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และรู้จักวัฒนธรรมมากขึ้น แต่ยังไม่ครอบคลุมขอบข่ายทั้งหมด และยังไม่ถึงระดับลุ่มลึก ซึ่งต้องใช้เวลาและการดำเนินการต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo analyze the program strategies of "Our Beloved Thai Culture" which airs during the nightly news on Royal Thai Army Channel 5 (during July 1994-July 1996) and to evaluate the viewpoint of receiver by using theoretical framework for social marketing communication campaign and principle of cultural policy for media. The results show that in the aspect of the message of strategies because of the production team lack a concise program strategy to serve the cultural campaign objectives of The Office of the National Culture Commission, did not specify a clear objective in the program's production and unskill teamwork caused the message presentation to be unable to cover all 11 objectives designated by The office of the National Culture Commission and also errors and go into detail as much as it should have. In the aspect of distribution strategies the receiver believed that frequency, Tuming and the program length were all appropriate. In the aspect of communication goals for the most receiver and the culturalexperts found that after watching the program they had gained a greater knowledge of Thai culture which consistant with the production team's objectives. The result from both the analysis of the program strategies and the receiver's point of view during the period of time between July 1994-July 1996 show that the progrom was able to achieve its objectives at a level which increase the populations knowledge that culiure. But not at a level which covered all objective and which was great detail. The achieve this level more time is needed, and thus, programe production should continue.en
dc.format.extent1157082 bytes-
dc.format.extent1196452 bytes-
dc.format.extent1109925 bytes-
dc.format.extent956529 bytes-
dc.format.extent2848077 bytes-
dc.format.extent3033441 bytes-
dc.format.extent1868666 bytes-
dc.format.extent1619919 bytes-
dc.format.extent1826103 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเรารักศิลปวัฒนธรรมไทย (รายการโทรทัศน์)en
dc.subjectโทรทัศน์ -- การผลิตและการกำกับรายการen
dc.subjectรายการโทรทัศน์en
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.subjectสื่อมวลชนกับวัฒนธรรมen
dc.titleการวิเคราะห์กลยุทธ์การสื่อสารของรายการ "เรารักศิลปวัฒนธรรมไทย" ทางสื่อโทรทัศน์en
dc.title.alternativeAn analysis of program strategies regarding "Our Beloved Thai Culture"en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKanjana.Ka@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bongkot_Ak_front.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Bongkot_Ak_ch1.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Bongkot_Ak_ch2.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Bongkot_Ak_ch3.pdf934.11 kBAdobe PDFView/Open
Bongkot_Ak_ch4.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open
Bongkot_Ak_ch5.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open
Bongkot_Ak_ch6.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open
Bongkot_Ak_ch7.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open
Bongkot_Ak_back.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.