Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ ประพิฌมงคลการ-
dc.contributor.advisorวิชา จิวาสัย-
dc.contributor.authorมารุต ปัชโชตะสิงห์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-05-31T08:52:00Z-
dc.date.available2021-05-31T08:52:00Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.issn9745636797-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73620-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en_US
dc.description.abstractผลกระทบของการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ที่มีต่อการทำลายป่า และการเปลี่ยนแปลง สภาพการใช้ที่ดินยังเป็นปัญหาที่ยังไม่มีข้อยุติ งานวิจัยนี้ได้นำเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล ดาวเทียมมาจำแนกที่ดินลุ่มน้ำบริเวณเขื่อนเขาแหลม และศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ก่อนการสร้างเขื่อนจากภาพถ่ายดาวเทียมปี พ.ศ. 2520 และขณะกำลังก่อสร้างจากภาพถ่ายดาวเทียมปี พ.ศ. 2525 โดยมีการตรวจสอบในสนามประกอบ เทคนิคการวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียมด้วยคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการศึกษา คือ วิธี Maximum Likelihood Ratio พื้นที่ที่ศึกษาเป็นพื้นที่เหนือตัวเขื่อนซึ่งอยู่ในเขตอำเภอทองผาภูมิ และอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 3,339 ตารางกิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2520 เป็นพื้นที่ป่าทึบประมาณ 2,574 ตารางกิโลเมตร ป่าโปร่งผลมพืชไร่ ประมาณ 568 ตารางกิโลเมตร และทุ่งนาประมาณ 197 ตารางกิโลเมตร ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 พื้นที่ดังกล่าวได้เปลี่ยนเป็นพื้นที่ป่าทึบประมาณ 1,436 ตารางกิโลเมตร ป่าโปร่งผสมพืชไร่ประมาณ 1,461 ตารางกิโลเมตร ส่วนพื้นที่ที่เป็นทุ่งนามีเมฆคลุมเป็นส่วนใหญ่จึงไม่อาจจำแนกได้ทั้งหมด และพื้นที่ที่เป็นลำน้ำหรือที่มีขนาดเล็กอื่น ๆ ก็ไม่สามารถจำแนกได้ การที่มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพป่าทึบซึ่งคิดเป็นร้อยละ 11 ต่อปี มีสาเหตุมาจากการตัดไม้ทำลายป่าส่วนหนึ่ง และการตัดไม้บริเวณอ่างเก็บน้ำซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 290 ตารางกิโลเมตรอีกส่วนหนึ่ง อย่างไรก็ดีการเปลี่ยนแปลงของสภาพป่าทึบเป็นพื้นที่อื่น ๆ ค่อนข้างจะมีอัตราสูงมากจึงเป็นสิ่งที่สมควรติดตามศึกษาและควบคุมอย่างใกล้ชิดต่อไป ผลงานวิจัยนี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานส่วนหนึ่งอย่างดีที่จะใช้ในการกระทำดังกล่าว-
dc.description.abstractalternativeThe impact of large dam construction upon deforestation and land used changes 16 still an open end problem. In this research an attempt has been made to apply the techinque of LANDSAT imageries analysis and some field check to the watershed above Khao Laem Dam. It is meant to carry out land classification and to study the land used changes prior to the construction of the dam in 1977 and during construction in 1982. The Maximum Likelihood Ratio analysis technique using computer is applied to the imageries. The studied area which is approximately 3,339 square kilometers is in Thongpapoum and Sangklaburi districts in Kanch an aburi province. In 1977 the result of classification comprised approximately of 2574 km2 of dense forest, 568 km2 of open forest with crops, and 197 km2 ́ of paddy field. Later on from imageries of 1982 the result of classification yielded approximately 1436 km of dense forest, 1461 km2 of open forest with crops and paddy field was mostly covered by cloud so classification is ambiguous. Furthermore it was found that linear features such as rivers and streams, and details of small magnitude could not be classified. The reduction of dense forest at the annual rate of 11% is partly due to the deforestation and partly due to the clearing in the reservoir which is about 290 km2. However, the rate of change from dense forest to other types of land is at such a high rate that it is necessary to have a follow up study and monitoring closely. The result from this research could very well be part of the basic necessary data for the said activity.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1984.8-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการใช้ที่ดินen_US
dc.subjectเขื่อนเขาแหลม -- การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกลen_US
dc.subjectLand useen_US
dc.subjectDams Khao Laem -- Remote sensingen_US
dc.titleการจำแนกที่ดินลุ่มน้ำเขื่อนเขาแหลม โดยวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรด้วยคอมพิวเตอร์en_US
dc.title.alternativeLand classification above Khao Laem watershed using computer analysis of landsat dataen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1984.8-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Marut_pa_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ10.96 MBAdobe PDFView/Open
Marut_pa_ch1.pdfบทที่ 16.78 MBAdobe PDFView/Open
Marut_pa_ch2.pdfบทที่ 240.6 MBAdobe PDFView/Open
Marut_pa_ch3.pdfบทที่ 344.15 MBAdobe PDFView/Open
Marut_pa_ch4.pdfบทที่ 45.79 MBAdobe PDFView/Open
Marut_pa_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก280.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.