Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวารี ถิระจิตร-
dc.contributor.authorสุภาวดี ลาสนธิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-21T02:00:19Z-
dc.date.available2021-06-21T02:00:19Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73900-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการสอนแบบกลุ่มแก้ปัญหาที่มีต่อมโนทัศน์ในการทำงานกลุ่มและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตัวอย่างประชากร คือ นักเรียนโรงเรียนบ้านป่งไฮราษฎร์สามัคคี สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองคาย โดยใช้แผนการสอนด้วยวิธีสอนแบบกลุ่มแก้ปัญหา และแผนการสอนด้วยวิธีสอนตามแผนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. มโนทัศน์ในการทำงานกลุ่มของนักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนโดยใช้แผนการสอนด้วยการสอนแบบกลุ่มแก้ปัญหา สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่เรียนโดยใช้แผนการสอนด้วยการสอนตามแผนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต หน่วยการทำมาหากิน ของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกัน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to study effects of using syndicate method on group work concepts and learning achievement of Prathom Suksa six students. The sample consisted of the students of Pong-Hi-Rat-Samakkee school under the jurisdiction of Nong Kai provincial primary education office. The syndicate method on group work concepts and the conventional method in the syllabus of the Ministry of Education were used. The data were analyzed by means of Arithmatic Mean, Standard Deviation and t-test method. The findings were as follows; 1. The group work concepts of the experimental group who learned by using the syndicate method was higher than the control group who learned by using the conventional method at 0.05 level of significance. 2. The learning achievement in life experiences area on livelihood unit between the experimental and control group was not different.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานen_US
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษาen_US
dc.subjectProblem-based learningen_US
dc.subjectGroup work in educationen_US
dc.titleผลของการสอนแบบกลุ่มแก้ปัญหาที่มีต่อมโนทัศน์ในการทำงานกลุ่ม และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 : กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต หน่วยการทำมาหากินen_US
dc.title.alternativeEffects of using syndicate method on group work concepts and learning achievement of prathom suksa six students : life experiences area on livelihood uniten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supavadee_la_front_p.pdf891.22 kBAdobe PDFView/Open
Supavadee_la_ch1_p.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Supavadee_la_ch2_p.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open
Supavadee_la_ch3_p.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Supavadee_la_ch4_p.pdf984 kBAdobe PDFView/Open
Supavadee_la_ch5_p.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Supavadee_la_back_p.pdf11.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.