Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73972
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โยธิน ศันสนยุทธ | - |
dc.contributor.author | รวยริน สุขเกษม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-06-22T04:37:54Z | - |
dc.date.available | 2021-06-22T04:37:54Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.isbn | 9745791989 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73972 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ผลงานและการระบุสาเหตุกับ ปฏิกิริยาความรู้สึกและความคาดหวังของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า ในสภาพการณทีนักเรียนรับรู้ว่าตนเองประสบความสำเร็จ นักเรียนที่ระบุสาเหตุว่าเกิดจากสาเหตุ ที่มีลักษณะคงที่และสามารถควบคุมได้ มีปฏิกิริยาความรู้ที่กทางบวกมากกว่านักเรียนที่ระบุสาเหตุว่าเกิดจาก สาเหตุที่มีลักษณะไม่คงที่และไม่สามารถควบคุมได้ อย่างมีนัยสำคัญ (p<.01 และ p<.05 ตามลำดับ) ส่วนในสภาพการณ์ที่นักเรียนรับรู้ว่าตนเองประสบความล้มเหลว นักเรียนที่ระบุสาเหตุว่าเกิดจากสาเหตุที่มีลักษณะ ไม่คงที่และสามารถควบคุมได้ มีปฏิกิริยาความรู้สึกทางบวกมากกว่านักเรียนที่ระบุสาเหตุว่าเกิดจากสาเหตุ ที่มีลักษณะคงที่และไม่สามารถควบคุมได้ อย่างมีนัยสำคัญ (p<.01 และ p<.05 ตามลำดับ) ส่วนนักเรียนที่ระบุสาเหตุว่าเกิดจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก มีปฏิกิริยาความรู้สึกไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ในสภาพการณ์ที่นักเรียนรับรู้ว่าตนเองประสบความสำเร็จ นักเรียนที่ระบุสาเหตุว่าเกิดจากปัจจัย ภายในและสามารถควบคุมได้ มีความคาดหวังสูงกว่านักเรียนที่ระบุสาเหตุว่าเกิดจากปัจจัยภายนอกและไม่ สามารถควบคุมได้ อย่างมีนัยสำคัญ ( p <.001 และ p <.01 ตามลำดับ) และนักเรียนที่ระบุสาเหตุที่มีลักษณะคงที่ มีความคาดหวังต่ำกว่านักเรียนที่ระบุสาเหตุที่มีลักษณะไม่คงที่ อย่างมีนัยสำคัญ (p < .05) ส่วนในสภาพการณ์ที่นักเรียนรับรู้ว่าตนเองประสบความล้มเหลว นักเรียนที่ระบุสาเหตุที่มีลักษณะไม่คงที่และ สามารถควบคุมได้ มีความคาดหวังสูงกว่านักเรียนที่ระบุสาเหตุที่มีลักษณะคงที่และไม่สามารถควบคุมได้ อย่างมีนัยสำคัญ ( p <.01 และ p <.05 ตามลำดับ) ส่วนนักเรียนที่ระบุสาเหตุว่าเกิดจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก มีความคาดหวังไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the relationships between perception of performance and attributions with affective reactions and expectations of Mathayom Suksa four students under the jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolis. The fin d in g s are as follow: In the situation that students perceive their success, the students who attribute the stable and controllable causes have significantly positive reactions much more than the students who attribute the unstable and uncontrollable causes (p< .01 and p<.001). In the situation that students perceive their failure, the students who attribute the unstable and controllable causes have significantly positive affective reactions much more than the students who attribute the stable and uncontrollable causes (pc.01 and p<.05). No significant difference in affective reactions between the students who attribute internal and external factors. In the situation that students perceive their success, the students who attribute the internal and controllable causes have significantly higher expectation than the students who attribute the external and uncontrollable causes (p<.001 and p<.01). But the students who attribute the stable causes have significantly lower expectation than the students who attribute the unstable causes (p<.05). In the situation that students perceive their failure, the students who attribute the unstable and controllable causes have significantly higher expectation than the students who attribute the stable and uncontrollable causes (p<.01 and p<.05). No significant difference in expectation between the students who attribute the internal and external factor. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา -- จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | ความคาดหวัง (จิตวิทยา) | en_US |
dc.subject | High school students -- Psychology | en_US |
dc.subject | Expectation (Psychology) | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ผลงานและการระบุสาเหตุ กับปฏิกิริยาความรู้สึกและความคาดหวัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Relationships between perception of performance and attributions with affective reactions and expectations of mathayom suksa four students under the jurisdiction of the department of general education, Bangkok metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาสังคม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ruayrin_su_front_p.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ruayrin_su_ch1_p.pdf | 2.87 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ruayrin_su_ch2_p.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ruayrin_su_ch3_p.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ruayrin_su_ch4_p.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ruayrin_su_ch5_p.pdf | 926.36 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ruayrin_su_back_p.pdf | 1.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.