Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74022
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณี ศิริโชติ-
dc.contributor.authorสุวรรณา ทองเกตุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-23T02:50:00Z-
dc.date.available2021-06-23T02:50:00Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74022-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง บทประยุกต์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2535 ของโรงเรียนบ้านประตง จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม โดยการจับคู่คะแนน (match by pair) ให้กลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มทดลองที่ใช้ระบบการสอนของเคลเลอร์ และอีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุมที่ใช้การสอนตามปกติโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือแนะนำการเรียน บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดเส้นตรง (เทคนิคการเขียนกรอบแบบย้อนลำดับ) และแบบทดสอบ ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดเส้นตรงที่สร้างขึ้น 3 หน่วย มีประสิทธิภาพแต่ละหน่วยดังนี้ หน่วยที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.33/80.00 หน่วยที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.08/80.08 และหน่วยที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.67/80.17 เมื่อใช้ระบบการสอนของเคลเลอร์และการสอนตามปกติในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ปรากฏว่า ค่ามัชฌิมเลขคณิตของนักเรียนทั้งสองกลุ่มแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นั่นคือ การเรียนการสอนด้วยระบบการสอนของเคลเลอร์ให้ผลสัมฤทธิ์ในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ไม่สูงกว่าการสอนตามปกติ-
dc.description.abstractalternativeการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง บทประยุกต์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2535 ของโรงเรียนบ้านประตง จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม โดยการจับคู่คะแนน (match by pair) ให้กลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มทดลองที่ใช้ระบบการสอนของเคลเลอร์ และอีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุมที่ใช้การสอนตามปกติโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือแนะนำการเรียน บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดเส้นตรง (เทคนิคการเขียนกรอบแบบย้อนลำดับ) และแบบทดสอบ ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดเส้นตรงที่สร้างขึ้น 3 หน่วย มีประสิทธิภาพแต่ละหน่วยดังนี้ หน่วยที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.33/80.00 หน่วยที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.08/80.08 และหน่วยที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.67/80.17 เมื่อใช้ระบบการสอนของเคลเลอร์และการสอนตามปกติในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ปรากฏว่า ค่ามัชฌิมเลขคณิตของนักเรียนทั้งสองกลุ่มแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นั่นคือ การเรียนการสอนด้วยระบบการสอนของเคลเลอร์ให้ผลสัมฤทธิ์ในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ไม่สูงกว่าการสอนตามปกติ-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en_US
dc.subjectMathematics -- Study and teaching (Elementary)en_US
dc.titleผลของการใช้ระบบการสอนของเคลเลอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeEffects of using keller plan on achievement in mathematical problem solving of prathom suksa six studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwanna_th_front_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Suwanna_th_ch1_p.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Suwanna_th_ch2_p.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open
Suwanna_th_ch3_p.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open
Suwanna_th_ch4_p.pdf782.44 kBAdobe PDFView/Open
Suwanna_th_ch5_p.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Suwanna_th_back_p.pdf9.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.