Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชิดพันธ์ วิทูราภรณ์-
dc.contributor.authorอำนาจ หาญวงศ์ไพบูลย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-23T06:47:38Z-
dc.date.available2021-06-23T06:47:38Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.issn9745849774-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74043-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้กล่าวถึง การศึกษาการใช้สาร HFC-134a ในฐานะที่เป็นสารทดแทนสาร CFC..12 ที่ใช้เป็นสารทำความเย็นในเครื่องทดสอบความเย็น โดยมุ่งศึกษาในด้านของสมรรถนะและผลกระทบต่อคอมเพรสเซอร์เมื่อใช้สาร HFC-134a เพื่อเป็นแนวทางในการใช้งานต่อไป ในส่วนของการทดสอบเพื่อเปรียบ เทียบสมรรถนะ จะทำการเดินเครื่องทดสอบความเย็นเมื่อใช้สารทั้งสองชนิด แล้วทำการเปลี่ยนภาระความร้อน อีกทั้งมีการปรับแต่งเครื่องในกรณีของการใช้ HFC-134a เพื่อข้อมูลในการปรับแต่งเครื่องให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม ผลการทดลองที่ได้จะถูกนำไปพิจารณาหาค่าพารามิเตอร์ ซึ่งเป็นค่าคงที่ของแต่ละอุปกรณ์เพื่อจะใช้ในการสร้างโปรแกรมการคำนวณสมรรถนะของเครื่องทดสอบความเย็น งานวิจัยอีกส่วนหนึ่งก็คือศึกษาการสึกหรอของลูกสูบ และชุดซีลของคอมเพรสเซอร์ เมื่อใช้งานไปแล้ว 300 ชั่วโมง โดยการพิจารณาจากภาพขยาย และจากคุณสมบัติของน้ำมันหล่อลื่นหลังการใช้งานของคอมเพรสเซอร์ ผลการทดลองในส่วนสมรรถนะของเครื่องพบว่า การใช้สาร HFC-134a แทน CFC-12 ทำให้สัมประสิทธิ์สมรรถนะลดลงประมาณ 15% เนื่องจากงานที่ใช้ในการอัดในคอมเพรสเซอร์ต้องใช้มากกว่าแต่หลังจากการปรับแต่งเครื่องโดยลดขนาดอุปกรณ์ปรับลดความดันจำนวน 1/4 รอบ และ 1/2 รอบ จะทำให้ เครื่องมีสัมประสิทธิ์สมรรถนะดีขึ้น เมื่อนำผลการคำนวณที่ได้จากโปรแกรมเปรียบเทียบทดลองพบว่าให้ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะที่ใกล้เคียงกัน มีความแตกต่างกันโดยเฉลี่ยประมาณ ± 7% และผลการตรวจสอบในส่วนของ การสึกหรอของลูกสูบซึ่งมีโลหะอลูมิเนียมเป็นส่วนประกอบ พบว่าระบบของ HFC-134a / โพลิเอสเตอร์ ออลย์ มีแนวโน้มจะทำให้อยู่อลูมิเนียมมีการสึกหรอมากกว่าระบบของ CFC-12 / น้ำมันแร่ธาตุในขณะที่ระบบ CFC-12 / น้ำมันแร่ธาตุ จะให้การสึกหรอของโลหะทองแดงได้มากกว่าระบบ HFC-134a / โพลิเอสเตอร์-
dc.description.abstractalternativeIn this research we present the study of using HFC-134a as a replacement for CFC-12 in the calorimeter unit. The performance of the unit and the effect to the compressor were considered when using these two refrigerants in the cooling in order to place the guide line for future use process. In a comparision on the performance testing, heat load was varied during running the unit. Pressure regulator was reduced in size during the use of HFC-134a for s”j table operating condition. Data from test-running has been used to calculate for parameters used in the computer program. In addition, the study on the erosion of piston and seal after running the unit for 300 Hrs. had been performed using analytical photograph and the variation in compressor oil properties. From performance testing, we found that the coefficience of performance was reduced about 15% when using HFC-134a compared with CFC-12 for the same heat load. This was due to more work being done on the compressor to compensate for the less volumatic efficience. However, when pressure regulator had reduced the size with 1/4 and 1/2 thread. The performance was improved to be equal to or even higher that when running with CFC-12. The average difference of about ± 7% on the result from computer program and experiment data was found. The analysis of the effect on aluminum alloy piston, when using HFC-134a/ Polyester oil solution showed potential waring more than that when using CFC-12/ Mineral oil solution. The analysis of the effect on brass seal of seal and pipe showed more were when using CFC-12 / Mineral oil than that when using HFC-134a/Polyester.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเครื่องทดสอบความเย็นen_US
dc.subjectฟลูออโรไฮโดรคาร์บอนen_US
dc.subjectคอมเพรสเซอร์en_US
dc.titleการศึกษาสมรรถนะของเครื่องทดสอบความเย็น และผลกระทบต่อคอมเพรสเซอร์เมื่อใช้สารทำความเย็น HFC-134aen_US
dc.title.alternativePerformance study and the effect of using HFC-134a on the refrigeration calorimeter and its compressoren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChirdpun.V@Chula.ac.th, fmecvt@eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Amnart_ha_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.11 MBAdobe PDFView/Open
Amnart_ha_ch1_p.pdfบทที่ 11.08 MBAdobe PDFView/Open
Amnart_ha_ch2_p.pdfบทที่ 21.38 MBAdobe PDFView/Open
Amnart_ha_ch3_p.pdfบทที่ 31.36 MBAdobe PDFView/Open
Amnart_ha_ch4_p.pdfบทที่ 43 MBAdobe PDFView/Open
Amnart_ha_ch5_p.pdfบทที่ 5705.93 kBAdobe PDFView/Open
Amnart_ha_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก5.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.