Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74187
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ คงสมบูรณ์-
dc.contributor.authorมนู รัตนาสิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-28T06:59:39Z-
dc.date.available2021-06-28T06:59:39Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745778168-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74187-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการกระทำความผิดอาญาบางอย่าง เช่น กาวกระทำผิดอาญาเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง ทรัพย์สิน เหล่านี้อาจก่อให้เกิดความรับผิดทางแพ่งในฐานะละเมิดได้ ทำให้นอกจากผู้ได้รับความเสียหายจากกาากระทำดังกล่าวจะสามารกฟ้องาองดำ เนิบคดีอาญา เพื่อลงโทษผุ้กวะทำผัดได้แล้ว ยังสามารถ เรัยกร้องค่าสินไหมทดแทนทนทางแพ่งได้อีกด้วย โดยการนำคดีดังกล่าวมาฟ้อง เป็นคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา วัตถุประสงค์ของการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา คือ เพื่อให้เกิดความสะดวก ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีในชั้นศาล เพื่อให้ศาลได้พิจารเนาพิพากษาคดี อันเกิดจากการกระทำอันเดียวกันให้เสร็จสิ้น เสียในคราวเดียวกันทั้งในทางแพ่งและทางอาญา กับทั้งยังสามารถใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนให้เหมาะสมกับความหนักเบาตามหลักฐานที่โจทก์-จำเลยนำมาสืบแสดงต่อศาล บทบัญญัติ เรื่องการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยว เนื่องกับคดีอาญามีประโยชน์และดำเนินไปอย่างสมวัตถุ ประสงค์อย่างยิ่งในคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ แต่กลับพบข้อขัดข้อง ทำให้คดีเกิดความล่าช้า และค้าง พิจารณาในศาลในคดีความผิดที่เกิดจากรถยนต์ เนื่องจากลักษณะของความเสียหายในทางแพ่งในคดี ความผิดที่เกิดจากรถยนต์มิลักษณะไม่แน่นอน เหมือนเช่นในคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ นอกจากนั้นในทางปฏิบัติยังนำบทบัญญัติ เรื่องการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญามาใช้กับคดีดังกล่าวอย่างเคร่งครัด และไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการดำเนินคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาอีกด้วย ซึ่งเป็นข้อที่ควรได้รับการศึกษาพิจารณา เพื่อแก้ไขข้อขัดข้องด้งกล่าว วิทยานิพนธ์ฉบับนได้อธิบายหลักกฎหมาย และสรุปรวมทั้งเสนอแนะเพื่อให้มีการนำบทบัญญัติในเรื่องการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 40-51 มาใช้กับคดีความผิดที่เกิดจากรถยนต์ได้อย่างมีประสิทธิผล-
dc.description.abstractalternativeCertain criminal offenses, such as those concerning life, body, freedom, reputation and property, may give rise to liability for trespassing. Hot only do they entitle persons damaged by them to instituting criminal proceedings to have the offenders punished, but they also entitle them to claiming indemnities in the civil aspect by processing such cases as civil cases connected with a criminal offense. The objective of processing civil cases in connection with a criminal offense is to bring about convenience and to save time and money for all parties involved in legal proceedings at the court stage so that the court will be able to finish examining and judging both civil and criminal cases arising from the same offense simultaneously and also able to exercise discretion to determine indemnities suitable for severity based on the evidences brought by disputants to prove before the court. The provisions on processing civil cases in connection with a criminal offense are useful and very fitly meet the objective in case of offenses concerning property, but on the contrary, some obstacles were found that delay and cause to be in arrears the processing of legal cases in case of offenses concerning driving because the character of damage in the civil aspect in case of offenses concerning driving is not so fixed as in case of In addition, in practice, the provisions on offenses concerning property. In addition, in practice, the provisions on processing civil cases in connection with a criminal offense are strictly applied to such cases and not in consistence with the objective of processing civil cases in connection with a criminal crime, which is a point deserving being studied for solutions to the said obstacles. This thesis explains the principles of law and offers conclusions as well as recommendations with a view to the provisions on processing civil cases in connection with a criminal offense according to the Criminal Procedure Code, Sections 40-51 being efficiently applied to cases of offenses concerning driving.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคดีแพ่งen_US
dc.subjectความผิดen_US
dc.subjectรถยนต์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectCitizen suits (Civil procedure)en_US
dc.subjectGuilt (Law)en_US
dc.subjectAutomobiles -- Law and legislationen_US
dc.titleการดำเนินคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา : ศึกษาในคดีความผิด ที่เกิดจากรถยนต์en_US
dc.title.alternativeProcess of civil cases in connection with an offence : in case of crime concerned drivingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPaitoon.K@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Manu_ra_front_p.pdf975.88 kBAdobe PDFView/Open
Manu_ra_ch1_p.pdf863.24 kBAdobe PDFView/Open
Manu_ra_ch2_p.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open
Manu_ra_ch3_p.pdf4.68 MBAdobe PDFView/Open
Manu_ra_ch4_p.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open
Manu_ra_ch5_p.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open
Manu_ra_back_p.pdf762.88 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.