Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ-
dc.contributor.authorจตุรดา ดียิ่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-06-28T07:43:15Z-
dc.date.available2021-06-28T07:43:15Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74195-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561en_US
dc.description.abstractความแพร่หลายของการนำเอาออนโทโลยีเข้ามาใช้ที่มีมากขึ้น ทำให้เกิดการซ้อนทับกันของ ออนโทโลยีมากขึ้นตามมา วิศวกรความรู้จึงได้เกิดแนวคิดที่จะนำเอาออนโทโลยีที่คล้ายคลึงกันเข้ามามีส่วนร่วมด้วยกัน ด้วยเหตุนี้แนวคิดการผสานออนโทโลยีจึงได้ถูกนำเสนอขึ้นมา อย่างไรก็ตามในปัจจุบัน งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอัลกอริทึมของการผสานออนโทโลยีในโดเมนที่แตกต่างกันเข้าด้วยกันยังมีให้เห็นไม่มากนัก ส่วนมากจะเป็นการนำเสนออัลกอริทึมของการผสานออนโทโลยีที่อยู่ภายใต้ขอบเขตโดเมนเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน ในงานวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยมีเป้าหมายที่จะทำการผสานออนโทโลยีในโดเมนที่ต่างแบบกันแต่มีส่วนเกี่ยวข้องกันของข้อมูลโดยใช้หลักการการวิเคราะห์ฟอร์มัลคอนเซ็ปต์ โดยผู้วิจัยได้สร้างกรณีศึกษาด้วยการนำเอาข้อมูลยา และออนโทโลยีโรคมาผสานเข้าด้วยกัน และนำเสนอออกมาเป็นความเกี่ยวโยงกันของข้อมูลยาและโรคในรูปแบบของฟอมัลแลททิส จากนั้นกรณีศึกษาจะถูกประเมินความถูกต้องของผลลัพธ์ด้วยการเปรียบเทียบกับอ้างอิงข้อมูลการแนะนำทางการแพทย์ ผลของการทดสอบของกรณีศึกษาแสดงให้เห็นว่าวิธีการผสานออนโทโลยีโดยใช้การวิเคราะห์ฟอร์มัลคอนเซ็ปต์ที่ ผู้วิจัยนำเสนอนั้นนำมาซึ่งของมูลที่ถูกต้องตามการแนะนำทางการแพทย์ที่เปรียบเทียบ ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่าสามารถเป็นประโยชน์ในการสนับสนุนการทำงานวิศวกรความรู้ ในการผสานออนโทโลยีโดยใช้คุณลักษณะร่วมระหว่างออนโทโลยีในขอบเขตโดเมนต่างกันen_US
dc.description.abstractalternativeThe increasing of ontology usage caused some overlapping ontologies which motivates knowledge engineers to enable the collaborative use of similar ontologies. It introduces the concept of ontology merging. Unfortunately, there are a few researches on heterogeneous ontology merging algorithm and most of them operated in the same or similar domain ontologies. In this paper, we aimed to merge heterogeneous ontologies on relevant domain using Formal Concept Analysis. We took DrugBank and Disease ontologies as our case study. The relationships between drug and disease are presented in this paper in the form of formal lattice. The result of this paper is the merged ontology of the given use case. The result was evaluated by comparing with the medication suggestion. The evaluation shows that the proposed method yielded a correct suggestion accordingly and it will be useful to support knowledge engineer to merge ontologies using corresponded attributes between ontologies.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1272-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectออนโทโลยี (ทฤษฎีความรู้)-
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ-
dc.subjectโปรแกรมคอมพิวเตอร์-
dc.subjectOntology (Theory of knowledge)-
dc.subjectInformation technology-
dc.subjectComputer programs-
dc.titleการผสานออนโทโลยีที่ต่างแบบกันโดยใช้การวิเคราะห์ฟอร์มัลคออนเซ็ปต์en_US
dc.title.alternativeHeterogeneous Ontology Merging Using Formal Concept Analysisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWiwat.V@Chula.ac.th,wiwatv@gmail.com,wiwat@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1272-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
En_5870910721_Jaturada De.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.