Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74316
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์-
dc.contributor.authorไปรยา จิระอรุณ-
dc.date.accessioned2021-07-02T06:49:54Z-
dc.date.available2021-07-02T06:49:54Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74316-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลเด็กออทิสติกของผู้ดูแล ก่อนและหลังการใช้ส้มพันธภาพบำบัด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ดูแลเด็กออทิสติกที่นำเด็กมาเข้ารับบริการ ในแผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมสัมพันธภาพบำบัด ผู้ดูแลเด็กออทิสติก ซึ่งพัฒนาโดยผู้ศึกษา ตามแนวคิดทฤษฎีของ Peplau (1952) ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบวัดพฤติกรรมการดูแลเด็กออทิสติกของผู้ดูแล ซึ่งผ่านการตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหา มีค่าความเที่ยงแบบสัมประสิทธิ์แอลฟาเท่ากับ .84 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (Paired t - test) ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ พฤติกรรมการดูแลเด็กออทิสติกของผู้ดูแล หลังการใช้โปรแกรมส้มพันธภาพบำบัด สูงกว่าก่อนการใช้โปรแกรมสัมพันธภาพบำบัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study was to compare caring behaviors among caregivers of autistic children before and after using therapeutic relationship. The study sample was 20 caregivers of autistic children who were treated in inpatient department Yuwaprasartwithayopathum hospital. Study instruments used in the experiment was a therapeutic relationship program which was developed for this study a according to Peplau’s theory (1952). Data collecting instruments was caregivers’ caring behaviors questionnaire. These instruments were tested for content validity by a panel of 5 experts. The reliability of questionnaire by Cronbach Alpla was .84. Descriptive statistics and t-test were used in data analysis. The major finding was as follows: Caring behaviors among caregivers of autistic children after using therapeutic relationship were significantly higher than before using therapeutic relationship, at the .05 level.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2136-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเด็กออทิสติก -- การดูแล -- ไทยen_US
dc.subjectAutistic children -- Care -- Thailanden_US
dc.titleการศึกษาการใช้สัมพันธภาพบำบัดต่อพฤติกรรมการดูแลเด็กออทิสติกของผู้ดูแลแผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์en_US
dc.title.alternativeA study of using therapeutic relationship on caring behaviors among caregivers of autistic children, Inpatient Department, Yuwaprasartwithayopathum Hospitalen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJintana.Y@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.2136-
Appears in Collections:Nurse - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pairaya_ji_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ821.62 kBAdobe PDFView/Open
Pairaya_ji_ch1_p.pdfบทที่ 11.34 MBAdobe PDFView/Open
Pairaya_ji_ch2_p.pdfบทที่ 22.6 MBAdobe PDFView/Open
Pairaya_ji_ch3_p.pdfบทที่ 31.52 MBAdobe PDFView/Open
Pairaya_ji_ch4_p.pdfบทที่ 4882.83 kBAdobe PDFView/Open
Pairaya_ji_ch5_p.pdfบทที่ 51.17 MBAdobe PDFView/Open
Pairaya_ji_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.