Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74358
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สวัสดิ์ ประทุมราช | - |
dc.contributor.advisor | ชูศักดิ์ ขัมภลิขิต | - |
dc.contributor.author | มาลี จิตติวุฒิการ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-07-07T03:02:12Z | - |
dc.date.available | 2021-07-07T03:02:12Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.isbn | 9745774863 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74358 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาผลของวิธีการหาคะแนนจุดตัด คะแนนโดเมนและความยาวของแบบสอบที่มีต่อความน่าจะเป็นในการจำแนกความรอบรู้และความเที่ยงในการตัดสินใจโดยเปรียบเทียบระหว่างทฤษฎีการตอบสนองข้อกระทง (IRT) กับทฤษฎีคลาสสิค (CCT) เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบคณิตศาสตร์ ที่สร้างตามรูปแบบข้อกระทง (Item Form) ผลการวิจัยพบว่าเมื่อกำหนดคะแนนโดเมนและความยาวแบบสอบเท่ากัน คะแนนจุดตัดตามแนวทฤษฎีคลาสสิคจะให้ค่าคงที่ กล่าวคือแบบสอบที่วัดคะแนนโดเมน .5, .6, .7 และ.8 สำหรับความยาวแบบสอบ 20 ข้อ คะแนนจุดตัดจะเป็น 10, 12, 14, และ 16 ส่วนความยาวแบบสอบ 30 ข้อ คะแนนจุดตัดจะเป็น 15, 18, 21 และ 24 ตามลำดับ แต่การหาคะแนนจุดตัดตามแนวทฤษฎีการตอบสนองข้อกระทงจะเป็น 12 สำหรับความยาว 20 และคำแนนจุดตัดจะเป็น 18 สำหรับความยาว 30 ข้อเมื่อกำหนดคะแนนโดเมน .5, .6, .7 และ .8 ตามลำดับหรือประมาณ 60% ของความยาวแบบสอบ ความน่าจะเป็นในการจำแนกความรอบรู้ใช้วิธีไบโนเมียลโมเดล ณ คะแนนจุดตัดของ IRT จะมีแนวโน้มต่ำกว่า ณ คะแนนจุดตัดของ CCT เมื่อกำหนดคะแนนโดเมน .7 และ .8 สำหรับความยาว 20 และ 30 ข้อแต่ ณ คะแนนจุดตัดของ IRT ความน่าจะเป็นในการจำแนกความรอบรู้จะสูงกว่า ณ คะแนนจุดตัด CCT เล็กน้อย ความเที่ยงในการตัดสินใจ ณ คะแนนจุดตัดของ IRT โดยวิธสีของวอร์ม จะสูงกว่าความเที่ยงในการตัดสินใจ ณ คะแนนจุดตัดของ CCT โดยวิธีของฮวิน สำหรับความยาวแบบสอบ 20 และ 30 ข้อ ความเที่ยงในการตัดสินใจของวอร์มอยู่ระหว่าง .93-.95 และความเที่ยงในการตัดสินใจของฮวิน จะอยู่ระหว่าง .53 - .65 | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study is to examine the effects of cutting score methods, domain score and test lengths on the probabilities of mastery classifications and the reliabilities of decision domain score and test lengths by comparing the IRT theory with the CCT theory by using the mathematic testing instruments with item forms. Results of the study reveal that cutting scores using the CCT theory are constant when domain scores and test lengths are equal. If the domain scores are .5, .6, .7 and .8 for the twenty-item test lengths, the cutting scores are 10, 12, 14 and 16. If they are thirty-item test lengths, the cutting scores are 15, 18, 21 and 24 respectively. On the other hand the cutting score using the IRT theory is about 12 for the twenty-item test length and the cutting score is about 18 for the thirty – item test length when the domain scores are .5, .6, .7 and .8 respectively. In other words, it is sixty percent of the test length approximately. According to the Binomial Model the probabilities of mastery classifications at the cutting scores of the IRT theory tend to be lower than the ones of the CCT theory when the specific domain scores are .7 and .8 for the twenty and thirty-item test lengths. But the probabilities of mastery classifications at the cutting scores of the IRT theory are a little higher than the ones of the CCT theory the reliabilities of decision of Warm’s cutting scores of IRT are higher than the ones of CCT cutting scores of Huynh’s. According to Warm’s method, the reliabilities of decision are between .93-.95 and the ones of Huynh’s are between .53-.65 when the test lengths are 20 and 30 items. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การสอบอิงเกณฑ์ | en_US |
dc.subject | ข้อสอบ -- ความเที่ยง | en_US |
dc.subject | Criterion-referenced tests | en_US |
dc.title | ผลของวิธีการหาคะแนนจุดตัด คะแนนโดเมนและความยาวของแบบสอบ ที่มีต่อความน่าจะเป็นในการจำแนกความรอบรู้และความเที่ยง ในการตัดสินใจ | en_US |
dc.title.alternative | Effects of cutting score methods, domain scores and test lengths on the probabilities of mastery classifications and the reliabilities of decision | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การวัดและประเมินผลการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Malee_ji_front_p.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Malee_ji_ch1_p.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Malee_ji_ch2_p.pdf | 1.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Malee_ji_ch3_p.pdf | 1.46 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Malee_ji_ch4_p.pdf | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Malee_ji_ch5_p.pdf | 1.38 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Malee_ji_back_p.pdf | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.