Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74374
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์-
dc.contributor.advisorกระบวน วัฒนปรีชานนท์-
dc.contributor.authorรื่นฤดี ศรีสุนทร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-07T06:21:18Z-
dc.date.available2021-07-07T06:21:18Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745770027-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74374-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการใช้ประโยชน์ของน้ำเสียบึงมักกะสันเพื่อการปลูกผักคะน้า (Brassica oleracea L. var alboglabra Bailey) ด้วยวิธีปลูกพืชในน้ำนั้นพิจารณาจากความเป็นไปได้ในการนำน้ำเสียมาปลูกพืชในน้ำและปริมาณธาตุอาหารรวมทั้งโลหะหนักบางชนิดที่ตกค้างในผักคะน้า ผลการศึกษาการเจริญเติบโตของผักคะน้าตำรับการทดลองต่างๆ พบว่าพืชมีการดูดซึมธาตุอาหารต่างๆ จากน้ำไปใช้เพื่อการเจริญเติบโตได้แต่ผลผลิตของผักคะน้าที่ปลูกในน้ำบึงมักกะสันได้ต่ำกว่า ผักคะน้าที่ปลูกในสารละลาย HOAGLAND ส่วนผลการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารหลักและรองในผักคะน้าพบว่ามีปริมาณใกล้เคียงกันในทุกตำรับการทดลอง ตะกั่วถูกสะสมไว้ในรากและลำต้นของผักคะน้าได้ใกล้เคียงกันมีค่าประมาณ 0.58 พีพีเอ็ม ส่วนแมงกานีสนั้นสะสมไว้ที่รากมากกว่าลำต้นซึ่งมีปริมาณสูงสุดประมาณ 5.19 พีพีเอ็มซึ่งถือว่ามีค่าต่ำมากเมื่อเปรียบเทียบกับค่าที่ทำให้เกิดความเป็นพิษต่อพืช (500 พีพีเอ็ม) ผักคะน้าสามารถสะสมเหล็กไว้ได้ในปริมาณเล็กน้อย เท่ากับ 5.96 พีพีเอ็ม ผลการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารหลักและรอง (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปตัสเซียม แมกนีเซียม เหล็ก และแมงกานีส) ในน้ำเมื่อสิ้นสุดการทดลอง (8 สัปดาห์) พบว่าทุกตำรับการทดลองมีปริมาณธาตุอาหารลดน้อยลงโดยเฉพาะปริมาณแอมโมเนียม-ไนโตรเจน มีค่าลดลงจนตรวจไม่พบ เมื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตในรูปของน้ำหนักสด น้ำหนักแห้ง ของผักคะน้าที่ปลูกในน้ำบึงมักกะสันที่เปลี่ยนทุก 2 สัปดาห์กับน้ำบึงมักกะสันที่เติมปุ๋ยในอัตรา 5 และ 22 มิลลิลิตร/ลิตรปรากฎว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.05)-
dc.description.abstractalternativePossible utilization of wastewater from Makasan Reservoir for Chinese Kale (Brassica oleracea L. var alboglabra Bailey) cultivation by means of hydroponics was conducted and analysed in terms of nutrient components and accumulation of some heavy metals in the selected plant. Measurable growth of the treated samples (Chinese Kale) in all treatments indicated that nutrients absorption was possible inspite of having lesser yield observed in the wastewater than in Hoagland’s solution. The analytical results of macro- and micro elemants in Chinese Kale showed no quantitative difference. Lead was found to be equally accumulated in both root and stem of the experimental plants (≈ 0.58 ppm) whereas manganese’s maximum accumulation in the root more than stem was only 5.19 ppm which regarded as too low to cause any adverse effects on plants. However, Chinese Kale could accumulate only a small amount of iron, 5.96 ppm approximately. As subjected to water analysis, the amount of macro- and micro elements (N, P, K, Mg, Fe and Mn) in all treatments after experimental period (8 weeks) were gradually decreased and it was nondetectable for ammonium-nitrogen. When the growth of Chinese Kale cultivated in two different treatments, waste water having been changed every two weeks and wastewater having been added fertilizers 5 and 22 millilitres/1 litre, was taken into consideration, it appeared that there was no significant difference (P=0.05) in terms of fresh and dry weight.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพen_US
dc.subjectการปลูกพืชในน้ำยาen_US
dc.subjectHydroponicsen_US
dc.subjectSewage -- Purification -- Biological treatmenten_US
dc.titleการใช้ประโยชน์ของน้ำเสียบึงมักกะสันเพื่อการปลูกผักคะน้า (Brassica oleracea L.var alboglabra Bailey) ด้วยวิธีปลูกพืชในน้ำen_US
dc.title.alternativeUtilization of wastewater from makasan reservoir for chinese kale (Brassica oleracea L.var alboglabra Bailey) cultivation by hydroponicsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorKrabuan.W@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruenrudee_sr_front_p.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Ruenrudee_sr_ch1_p.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open
Ruenrudee_sr_ch2_p.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Ruenrudee_sr_ch3_p.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open
Ruenrudee_sr_ch4_p.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Ruenrudee_sr_ch5_p.pdf737.32 kBAdobe PDFView/Open
Ruenrudee_sr_back_p.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.