Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74499
Title: ผลของการเรียนแบบร่วมมือในวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
Other Titles: Effects of cooperative learning in social studies on learning achievement and analysis ability of lower secondary school students
Authors: ปรารถนา เกษน้อย
Advisors: วลัย พานิช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Walai.P@chula.ac.th
Subjects: การทำงานกลุ่มในการศึกษา
สังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
Group work in education
Academic achievement
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของการเรียนแบบร่วมมือในวิชาสังคมศึกษาที่ มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในการวิจัยได้แบ่งนักเรียนเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง และ กลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน โดยใช้ แผนการสอน 2 แบบ คือ แผนการสอนการเรียนแบบร่วมมือ และ แผนการสอนแบบปกติ อย่าง ละ 11 แผน ใช้เวลาในการทดลอง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 คาบ คาบละ 50 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน คือ แบบทดสอบวัดความสามารถในการวิเคราะห์ ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.83 และแบบทดสอบจัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาสังคมศึกษา ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.85 เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษา ด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนกลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือ มีคะแนนความสามารถ ในการวิเคราะห์สูงกว่านักเรียนกลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ .05
Other Abstract: The purpose of this study was to investigate the effects of cooperative learning in social studies on learning achievement and analysis ability of lower secondary school students. The experimental design had two groups : experimental group and control group . Each group consisted of thirty students. There were two sets of lesson plans : eleven daily lesson plans for cooperative learning activities and eleven daily lesson plans for conventional activities . Duration of experiment was four weeks, consisted of four periods per week and fifty minutes per period. Assessment instruments were analysis ability test which had reliabilites of 0.83 and achievement learning test which had reliabilities of 0.85. Then, the data were compaired by t-test. The findings were as follows: 1. Students who learned social studies by cooperative learning activities had higher learning achievement scores than students who learned by conventional learning activities at .05 level of significance. 2.Students who learned social studies by cooperative learning activities had higher analysis ability scores than students who learned by conventional learning activities at .05 level of significance.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การสอนสังคมศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74499
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1997.363
ISBN: 9746387197
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1997.363
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pratana_ga_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ888.95 kBAdobe PDFView/Open
Pratana_ga_ch1_p.pdfบทที่ 11.03 MBAdobe PDFView/Open
Pratana_ga_ch2_p.pdfบทที่ 22.02 MBAdobe PDFView/Open
Pratana_ga_ch3_p.pdfบทที่ 31.12 MBAdobe PDFView/Open
Pratana_ga_ch4_p.pdfบทที่ 4662.59 kBAdobe PDFView/Open
Pratana_ga_ch5_p.pdfบทที่ 5939.2 kBAdobe PDFView/Open
Pratana_ga_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก4.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.