Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยรรยง เต็งอำนวย-
dc.contributor.authorวีระพล สุรัติสิทธิกร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-30T08:19:14Z-
dc.date.available2021-07-30T08:19:14Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.issn9745842141-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74726-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en_US
dc.description.abstractระบบยูนิกซ์เป็นระบบหลายภารกิจ (multitasking system) ซึ่งผู้ใช้สามารถทำงานหลาย ๆ งานได้โดยไม่ต้องรอให้งานใดงานหนึ่งเสร็จก่อน โดยปกติการทำดังกล่าวในระบบยูนิกซ์ด้วยแอสกีเทอร์มินัลนั้นไม่สามารถกระทำได้โดยสะดวก มักประสบปัญหาการแสดงผลปะปนกัน หรือการแย่งการตอบสนองจากผู้ใช้ การวิจัยนี้จึงมีความมุ่งหมายที่จะสร้างโปรแกรมเพื่อใช้เป็นเครื่องมือทางซอฟต์แวร์ (S/W tools) ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้ในระบบยูนิกซ์ด้วยแอสกีเทอร์มินัลสามารถสร้างจอภาพเสมือน (virtual screen) ได้มากถึง 10 จอภาพโดยใช้ระบบหน้าต่างในการควบคุมการแสดงผลอันจะทำให้ปัญหาดังกล่าวหมดไป สำหรับงานวิจัยนี้ประกอบด้วยส่วนสำคัญ คือ การใช้เทอร์มินัลเทียม (pseudo terminal) การใช้เทอมแคป (termcap) การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรแกรมด้วยรูปแบบไคล์เอ็นด์-เซอร์ฟเวอร์ (client-server) และการออกแบบระบบหน้าต่าง (window system) จากการทดสอบพบว่า โดยทั่วไปสามารถใช้เป็นเครื่องมือทางซอฟต์แวร์ได้ดี และโปรแกรมจะมีประสิทธิภาพดีขึ้นมาก เมื่อใช้ระบบยูนิกซ์ที่มีความรวดเร็วในการถ่ายเทข้อมูลสูงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์แม่และเทอร์มินัล เช่น ระบบยูนิกซ์ที่มีการเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกทำเป็นเทอร์มินัลผ่านระบบเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์แบบอิเทอร์เนต เป็นต้น-
dc.description.abstractalternativeThe unix system is the multitasking system which the users can do many jobs simultaneously. Normally, this is not convenient to do with ascii terminals. The problem is the interference of the output or contention of the input. This research has the objective to develop the software tools to help the unix user who works on ascii terminals to have the virtual screen up to 10 screens. It has the window system to manage the display.This research comprises major components such as pseudo terminals, termcap, client-server model, and window system. The result turns out to be a good software tool. It can be improved by using unix system which has high speed data transmission between the host computer and the terminals such as through the Ethernet network.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเทอร์มินัล (คอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectการเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectยูนิกซ์ (ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์)en_US
dc.titleโปรแกรมสร้างจอภาพเสมือนหลายจอภาพบนแอสกีเทอร์มินัลเดียวกันen_US
dc.title.alternativeA virtual screen program for ascii terminalsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYunyong.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weerapon_su_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ843.43 kBAdobe PDFView/Open
Weerapon_su_ch1_p.pdfบทที่ 1740.84 kBAdobe PDFView/Open
Weerapon_su_ch2_p.pdfบทที่ 21.52 MBAdobe PDFView/Open
Weerapon_su_ch3_p.pdfบทที่ 31.17 MBAdobe PDFView/Open
Weerapon_su_ch4_p.pdfบทที่ 4645.29 kBAdobe PDFView/Open
Weerapon_su_ch5_p.pdfบทที่ 5657.24 kBAdobe PDFView/Open
Weerapon_su_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก685.15 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.