Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74731
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorVirulh Sa-yakanit-
dc.contributor.authorCherdsak Kunsombat-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2021-07-30T11:27:53Z-
dc.date.available2021-07-30T11:27:53Z-
dc.date.issued1993-
dc.identifier.issn9745836907-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74731-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1993en_US
dc.description.abstractThe purpose of this thesis is to study weather forecasting by applying a two-level model to forecast the weather in the domain area between 90E to 180E longitudes and 0 to 45N latitudes. The grid size is 2.5° longitudes / 2.5° latitudes forming a total of 38 x 19 points. The streamfunctions are assumed to be constant at the north and south domain boundary and cyclic continuity at the east-west domain boundary. The 200 hPa and 850 hPa wind data from European Centre for Medium Range Weather Forecast are used as initial values for 24-hour, 48-hour, 72-hour and 96-hour forecasts. The prototype-model can be used with a micro-computer. The experimental results show the model ability for weather forecast. They show an arising, a movement, and the changing of circulation with continuous changes of streamfunction patterns.-
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาการพยากรณ์สภาวะอากาศ โดยการประยุกต์แบบจำลองสองระดับ เพื่อพยากรณ์สภาวะอากาศจริง บริเวณลองจิจูด 90 องศาตะวันออกถึง 180 องศา ตะวันออก และละติจูด 0 องศา ถึง 45 องศาเหนือ ขนาดของกริดมีค่า 2.5 องศาลองจิจูด / 2.5 องศา ละติจูด ประกอบ กันเป็นจำนวน 38 x 19 จุด กำหนดให้ฟังก์ชันกระแส ที่บริเวณ ขอบเขตทางด้านทิศเหนือและทางด้านทิศใต้มีค่าคงที่ และมีค่าต่อเนื่องแบบวนรอบ ที่บริเวณขอบเขตทางด้านทิศตะวันออก และทางด้านทิศตะวันตก ข้อมูลเริ่มต้นที่ระดับความดัน 200 เฮกโตพาสคัล และที่ระดับความดัน 850 เฮกโตพาสคัล นั้นได้รับจากศูนย์กลางยุโรปสำหรับการพยากรณ์สภาวะอากาศพิสัยกลาง สำหรับใช้พยากรณ์สภาวะอากาศ ที่เวลา 24-ชั่วโมง, 48-ชั่วโมง, 72-ชั่วโมง และ 96-ชั่วโมง แบบจำลอง ต้นแบบนี้สามารถใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้ ผลของการทดลอง แสดงให้เห็นถึงความสามารถของแบบจำลองในการพยากรณ์สภาวะอากาศ โดยแสดงให้เห็น การเกิด การเคลื่อนที่ และการเปลี่ยนแปลงของการหมุนวนของกระแสอากาศ กับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ของรูปแบบฟังก์ชันกระแส-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleWeather forecasting by two-level modelen_US
dc.title.alternativeการพยากรณ์สภาวะอากาศด้วยแบบจำลองสองระดับen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePhysicsen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cherdsak_ku_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ971.42 kBAdobe PDFView/Open
Cherdsak_ku_ch1_p.pdfบทที่ 1689.09 kBAdobe PDFView/Open
Cherdsak_ku_ch2_p.pdfบทที่ 2984.46 kBAdobe PDFView/Open
Cherdsak_ku_ch3_p.pdfบทที่ 3979.57 kBAdobe PDFView/Open
Cherdsak_ku_ch4_p.pdfบทที่ 41.05 MBAdobe PDFView/Open
Cherdsak_ku_ch5_p.pdfบทที่ 51.81 MBAdobe PDFView/Open
Cherdsak_ku_ch6_p.pdfบทที่ 6863.9 kBAdobe PDFView/Open
Cherdsak_ku_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.