Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74888
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประเสริฐ แย้มกลิ่นฟุ้ง-
dc.contributor.authorรุ่งทิพย์ ศิริปิ่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-08-13T06:47:02Z-
dc.date.available2021-08-13T06:47:02Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745695327-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74888-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์กิจกรรมต่าง ๆ ที่ทางชมรมพุทธศาสตร์จัดขึ้นว่ามีหน้าที่ทางสังคมอย่างไรบ้าง และเพื่อศึกษาถึงประวัติความเป็นมาของชมรมพุทธศาสตร์ รวมถึงปัจจัยทางด้านภูมิหลังทางสังคม อันได้แก่ เพศ รายได้ และอาชีพของครอบครัว ฐานะทางชนชั้น เชื้อสาย แหล่งที่อยู่อาศัย และการใช้เวลาว่างที่มีอิทธิพลต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชมรมพุทธศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม เชื้อสาย และการใช้เวลาว่าง มีความสัมพันธ์ต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมอย่างมากในกิจกรรมของชมรม กล่าวคือ กลุ่มที่มาจากชนชั้นกลาง มีแนวโน้มที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชมรมมรมมากกว่ากลุ่มที่มาจากชนชั้นอื่น ๆ กลุ่มบิดา มารดาที่เชื้อสายจีน จะให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกับทางชมรมมากกว่ากลุ่มบิดา มารดาที่มีเชื้อสายไทย และกลุ่มที่ใช้เวลาว่างในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับศาสนาจะเป็นกลุ่มที่เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชมรมมากกว่ากลุ่มที่ใช้เวลาว่างในการทำกิจกรรมอย่างอื่นที่ไม่ใช้กิจกรรมทางศาสนา ส่วนปัจจัยทางด้านเพศและแหล่งที่อยู่อาศัยไม่มีความสัมพันธ์หรืออิทธิพลต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของทางชมรม กิจกรรมที่ทางชมรมจัดขึ้นและทัศนคติของสมาชิกชมรมพุทธศาสตร์สอดคล้องกับหน้าที่ทางศาสนาตามแนวความคิดของ Durkheim กล่าวคือ 1. หน้าที่ในการเตรียมและจัดวินัย 2. หน้าที่ในการยึดเหนี่ยวและผนึกเข้ากับสังคม 3. หน้าที่ในการผนวกและรื้อฟื้น 4. หน้าที่ในการสร้างความรู้สึกของคุณค่าและความสุขของการมีชีวิต ซึ่งกิจกรรมของชมรมพุทธศาสตร์เหล่านี้ช่วยส่งเสริมหน้าที่ทางศาสนาได้เป็นอย่างดี-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research is to study the activities of the universities' Buddhist clubs. The scope of the study includes the analysis of their social functions and their historical background. The emphasis was placed on collecting data on socio-economic background of members of the clubs e.g. gender, income, occupation and social class origin of parents, descent, place of residence and the using of leisure time etc. and analyzing the effects. of these variables on their participation in and the attitudes toward the activitives of the clubs. The findings of the research are as follows: Differences in sex, socio-economic status, descent and the using leisure time contributed to different levels of participation in the activities of the clubs. This is to say, those who came from a middle class socioeconomic status tended to be more concerned to participate in the activities of the clubs than those who came from the upper or lower socio-economic classes. Those who are of Chinese descent are more concerned to participate in the activities of the clubs than those whose parents were Thai. Those who used leisure time in activities concerned with religion were more concerned to participate in the activities of the clubs than those who used leisure time in activities not related to religion. Differences in sex and place of residence have no influence on participation in the activities of the clubs. Analysis of the activities of the clubs and their members' attitudes confirm Durkheim's idea about the four social functions of religion, i.e. 1. Disciplinary and preparatory function 2. Cohesive function 3. Revilalizing function and 4. Euphoric function. The activities of these Buddhist clubs serve these four functions very well.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectชมรมพุทธศาสตร์en_US
dc.subjectกิจกรรมของนักศึกษา -- ไทยen_US
dc.subjectศาสนากับสังคมen_US
dc.subjectพุทธศาสนา -- ไทยen_US
dc.subjectStudent activities -- Thailanden_US
dc.subjectBuddhism -- Thailanden_US
dc.titleชมรมพุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยกับการส่งเสริมพุทธศาสนาen_US
dc.title.alternativeUniversities' Buddhist clubs and the promotion of Buddhismen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungthip_si_front_p.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Rungthip_si_ch1_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Rungthip_si_ch2_p.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Rungthip_si_ch3_p.pdf888.1 kBAdobe PDFView/Open
Rungthip_si_ch4_p.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open
Rungthip_si_ch5_p.pdf808.05 kBAdobe PDFView/Open
Rungthip_si_back_p.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.