Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74956
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุลักษณ์ ศรีบุรี-
dc.contributor.advisorสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม-
dc.contributor.authorศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-08-20T02:21:59Z-
dc.date.available2021-08-20T02:21:59Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745686522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74956-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถทางสมองทานมิติสัมพันธ์ด้านเหตุผลเชิงนามธรรม กับความถนัดทางศิลปะ ของนักศึกษาวิชาเอกศิลปศึกษาชั้นปีที่ 3 สหวิทยาลัยรัตนโกสินทร์ และศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ดังกล่าวระหว่างกลุ่มนักศึกษาชาย และนักศึกษาหญิง กลุ่มประชากรเป็นนักศึกษาวิชาเอกศิลปศึกษา ชั้นปีที่ 3 สหวิทยาลัยรัตนโกสินทร์ ปีการศึกษา 2530 จำนวน 55 คน เป็นนักศึกษาชาย 29 คน นักศึกษาหญิง 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบทดสอบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลเชิงนามธรรม แบบทดสอบความถนัดทางศิลปะ ผู้วิจัยทำการทดสอบกลุ่มประชากรด้วยตนเอง แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถทางสมองเบื้องต้นด้านมิติสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์ในทางบวกระดับต่ำกับความถนัดทางศิลปะ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .18 2. ความสามารถทางสมองเบื้องต้นด้านเหตุผลเชิงนามธรรม มีความสัมพันธ์ในทางบวกระดับต่ำกับความถนัดทางศิลปะ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .24 3. กลุ่มนักศึกษาชาย และกลุ่มนักศึกษาหญิง มีความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ กับความถนัดทางศิลปะใกล้เคียงกัน มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .09 และ. 05 ตามลำดับ 4. กลุ่มนักศึกษาชาย และกลุ่มนักศึกษาหญิง มีความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนความสามารถด้านเหตุผลเชิงนามธรรม กับความถนัดทางศิลปะ เป็นไปในทางบวกเหมือนกัน มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .29 และ .06 ตามลำดับ 5. กลุ่มประชากรมีความสามารถในด้านมิติสัมพันธ์ และด้านเหตุผลเชิงนามธรรมค่อนข้างดี มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มเท่ากับ 75.05 และ 78.08 ตามลำดับและมีความถนัดทางศิลปะในระดับปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็ม เท่ากับ 57.70 และยังพบว่ากลุ่มประชากรมีความถนัดทางศิลปะใกล้เคียงกัน โดยมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.52-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the relationships between primary mental ability in space relation, abstract reasoning and artistic aptitude. And to compare the relationships between primary mental ability in space relation, abstract reasoning and artistic aptitude of male students and female students. The population was 55 third year art education students in Rattanakosin United Colleges of academic year 1987. There are 29 male students and 26 female students. The research instruments were the space relation ability test, the abstract reasoning test and the artistic aptitude test. The obtained data were analyzed by means of Peason' Product Moment Correlation Coefficient. The results of research were as follows: 1. The positive correlation between space relation ability and artistic aptitude was rather low and the correlation coefficient was .18 2. The positive correlation between abstract reasoning ability and artistic aptitude was rather low and the correlation coefficient was .24 3. The correlation between space relation ability and artistic aptitude of male students and female students was very closed and the correlation coefficient was .09 and .05 4. The correlation between abstract reasoning ability and artistic aptitude of male students and female students, correlation coefficient was .29 and .06 5. The space relation ability scores and abstract reasoning ability scores of population in percentage were quite good. Those were 76.05% and 78.08% and the artistic aptitude scores in percentage was fair. That was 57.70% and there was no difference in artistic aptitude. The standard diviation was 4.52-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเชาวน์ -- การทดสอบen_US
dc.subjectการวัดความถนัดทางการเรียนen_US
dc.subjectศิลปะ -- การทดสอบความสามารถen_US
dc.subjectการทดสอบความสามารถen_US
dc.subjectArts -- Ability testingen_US
dc.subjectIntellect -- Testingen_US
dc.subjectAbility -- Testingen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถทางสมองเบื้องต้นด้านมิติสัมพันธ์ ด้านเหตุผลเชิงนามธรรม กับความถนัดทางศิลปะของนักศึกษาวิชาเอกศิลปศึกษา ชั้นปีที่ 3 สหวิทยาลัยรัตนโกสินทร์en_US
dc.title.alternativeRelationships between primary mental ability in space relation,abstract reasoning and artistic aptitude of third year art education students in rattanakosin rnited collehesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSulak.S@chula.ac.th-
dc.email.advisorSuwatana.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sakchai_ki_front_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ki_ch1_p.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ki_ch2_p.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ki_ch3_p.pdf997.75 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ki_ch4_p.pdf827.59 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ki_ch5_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ki_back_p.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.