Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระชัย ปูรณโชติ-
dc.contributor.authorอุปการ จีระพันธุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-08-23T15:59:28Z-
dc.date.available2021-08-23T15:59:28Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745812625-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75007-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ช่างอุตสาหกรรมของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ในด้านเนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อสารเรียนการสอน การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ตัวอย่างประชากรเป็นอาจารย์จำนวน 50 คน และนักศึกษาจำนวน 326 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้ 1. สภาพการเรียนการสอน พบว่า ส่วนใหญ่นักศึกษาตั้งใจเรียนเฉพาะเนื้อหา ส่วนที่เกี่ยวข้องกับวิชาช่าง อาจารย์ส่วนใหญ่สอนแบบบรรยายและให้นักศึกษาทำการทดลอง นักศึกษาได้ใช้อุปกรณ์การทดลองในชั่วโมงปฏิบัติการ อาจารย์กำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล แล้วชี้แจงให้นักศึกษาทราบ อาจารย์วัดผลนักศึกษาโดยการสอนย่อยเป็นรายหน่วยนอกเหนือจากสอบกลางภาคและปลายภาค สิ่งที่ไม่ปฏิบัติเลยได้แก่ การเพิ่มพูนความรู้ในเนื้อหาวิชาให้นักศึกษาโดยการเชิญวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญมาบรรยายการให้นักศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมจากชุดแบบเรียนของคณะศิลปศาสตร์และจากตำราเรียนที่เป็นภาษาต่างประเทศ การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการผลิตสื่อการเรียนการสอน การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนด เกณฑ์การวัดและประเมินผล รายการอื่น ๆ นอกจากนี้พบว่า มีการปฏิบัติเป็นบางครั้ง 2. ปัญหาการเรียนการสอน พบว่ามีปัญหามากในรายการต่อไปนี้คือ เนื้อหามากเกินไปไม่สมดุลกับเวลา นักศึกษาไม่สนใจที่จะออกแบบการทดลองเอง การจัดซื้ออุปกรณ์การทดลองในหน่วยงานล่าช้าไม่ทันกับความต้องการในการใช้งาน ไม่มีแบบเรียนและคู่มือปฏิบัติการทดลองที่เป็นรูปเล่ม รายการอื่น ๆ นอกจากนี้พบว่ามีปัญหาปานกลางและน้อย-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to identify the state and problems of industrial science instruction at Rajamangala Institute of Technology in the materials, measurement and evaluation. Questionnaire were given to 50 instructors and 326 students. The obtained data were analyzed by means of percentage, arithmetic mean and standard deviation. The findings were as follows: 1. Most students paid their attention especially towards science contents related to Their fields of study. Most instructors taught by using lecture method and laboratory assignments. Students had the opportunity to use equipments during laboratory periods. The instuctors set the criteria for evaluation and informed to the students. Apart from mid-term and final examination, there were tests at the end of each unit. What hadn’t been done were the invitation of resource persons or experts to give, the assignments given to students to do research for additional contents from other textbooks both prepared by the Liberal Arts Faculty and from foreign sources, the assignments for students to participate in producing instructional materials and in setting the evaluation criteria. Others than these, they were found that there had been done sometime. 2. There were instructional problems at the high level in the following aspects: too much contents for the time allotted for each unit, students were not interested in designing their own experiments, delayed purchasing of experimental equipments causing unadequate materials needed to be used, no written materials in the form of textbooks and laboratory manuals. Besides, they were found to be the problems at the moderate and low levels.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสอน -- อุปกรณ์en_US
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษาen_US
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล -- หลักสูตรen_US
dc.subjectTeaching -- Instrumentsen_US
dc.subjectEducational tests and measurementsen_US
dc.subjectActivity programs in educationen_US
dc.subjectScience -- Study and teachingen_US
dc.titleสภาพและปัญหาการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ช่างอุตสาหกรรมระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลen_US
dc.title.alternativeState and problems of industrial science instruction at the higher certificate of vocational education level, Rajamangala Institute of Technologyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ouppagarn_je_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ933.86 kBAdobe PDFView/Open
Ouppagarn_je_ch1_p.pdfบทที่ 1741.42 kBAdobe PDFView/Open
Ouppagarn_je_ch2_p.pdfบทที่ 21.49 MBAdobe PDFView/Open
Ouppagarn_je_ch3_p.pdfบทที่ 3803.08 kBAdobe PDFView/Open
Ouppagarn_je_ch4_p.pdfบทที่ 41.35 MBAdobe PDFView/Open
Ouppagarn_je_ch5_p.pdfบทที่ 5965.21 kBAdobe PDFView/Open
Ouppagarn_je_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.