Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7502
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุพิน อังสุโรจน์-
dc.contributor.advisorอารีย์วรรณ อ่วมตานี-
dc.contributor.authorบุพรรณี มาตรา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-07-10T08:37:41Z-
dc.date.available2008-07-10T08:37:41Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741418736-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7502-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การพัฒนาตนเอง ของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยาของ Husserl ผู้ให้ข้อมูลคือ หัวหน้าฝ่ายการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานครจำนวน 13 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึกและบันทึกเทป นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะห์เนื้อหาตามแนวคิดของ Colaizzi ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าฝ่ายการพยาบาลให้ความหมายการพัฒนาตนเองไว้ 2 ประเด็น ได้แก่ 1) การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และ 2) การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติ ส่วนประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล แบ่งเป็น 5 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) การวิเคราะห์ตนเอง เพื่อสำรวจสิ่งที่ตนเองควรพัฒนา 2) การเพิ่มพูนความรู้เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงาน 3) การดูแลด้านร่างกายซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพให้พร้อมที่จะปฏิบัติงาน 4) การฝึกฝนด้านจิตใจเป็นการพัฒนาจิตเพื่อให้ตนเองพร้อมที่จะรับสถานการณ์ต่าง ๆ และ 5) การปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพ ให้เหมาะสมกับการดำรงตำแหน่งผู้บริหารขององค์การพยาบาลen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this qualitative study was to explore the meaning and experiences of self-development of nursing directors. The Husserl phenomenological approach was employed in this study. Study participants were selected by using purposive sampling from government hospitals located in Bangkok Metropolis. Thirteen nursing directors were willing to participate in this study. In-depth interview with tape-record was used to collect data. All interviews were transcribed verbatim and analyzed by using content analysis of Colaizzi. The study found the meaning of self-development as perceived by nursing directors consisting of 2 categories: 1) Continuous learning and 2) Applying to practice. According to content analysis, self-development experiences were emerged into 5 categories: 1) Self analysis for seeking self-weakness to improve; 2) Acquiring body knowledge involving directors' performance, 3) Physical care for readiness of working; 4) Psychological practice for facing any situation at work; and 5) Improving personality for having good characteristics of the director of nursing organization.en
dc.format.extent2800472 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.868-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการพัฒนาตนเองen
dc.subjectพยาบาลen
dc.titleการพัฒนาตนเองของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeSelf-development of nursing directors, governmental hospitals, Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisoryupin.a@chula.ac.th-
dc.email.advisorAreewan.O@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.868-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
bupannees.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.