Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75266
Title: La descripton de la mer dans "Pierre et Jean" de Guy De Maupassant
Other Titles: การพรรณนาทะเลในนวนิยายเรื่อง ปิแยร์ เอ จอง ของ กี เดอ โมปัสซองต์
Authors: Lada Phumas
Advisors: Walaya Wiwatsorn
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Maupassant, Guy de, 1850-1893. Pierre et Jean
French fiction
Sea -- Fiction
Sea in literature
โมปัสซองต์, กี เดอ, ค.ศ. 1850-1893. ปิแยร์ เอ จอง
นวนิยายฝรั่งเศส
ทะเลในวรรณกรรม
Issue Date: 1996
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Ce memoire est consacre a une etude de la technique descriptive de la mer dans Pierre et Jean : leur nature et fonction. La merest cadre signifiant pour la composition romanesque tout au long de l'histoire. Notre étude est basee sur les travaux de recherche de J.-M. Adam, A. Petitjean et Philippe Hamon sur la description et son systeme. La premiere partie de ce memoire traite la description representative de la mer chez l ‘auteur. Etant realiste, Maupassant presente la mer telle qu'elle est. L' image de la mer bien accoutumee est reliee a la vie des personnages des le commencement jusqu a la fin de l' histoire. La description de la mer de Maupassant est courte mais frequente et prend le role dominant comme cadre du deroulement de Phistoire. La seconde partie parle de la description expressive de la mer qui reflete l'etat d' ame et les emotions des personnages principaux : Pierre, la mere Roland et Jean. Par la representation expressive, le lecteur comprend mieux les personnages et partage leurs sentiments. La mer a d' ailleurs un role symbolique. Elle devient ainsi le centre de communication entre l'auteur et le lecteur.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษากลวิธีการพรรณนาทะเลในนวนิยายเรื่อง ปิแยร์ เอ จอง ในแง่ของประเภทการพรรณนาและบทบาทหน้าที่ของการพรรณนา ผู้ประพันธ์ใช้ทะเลเป็นฉากสำคัญในการประพันธ์นวนิยายเรื่องนี้ตลอดทั้งเรื่อง การศึกษานี้อ้างอิงผลงานค้นคว้าของ จอง มิเชล อาดอง อองเดร เปอติจอง และฟิลลิป อามง ว่าด้วยวิธีการพรรณนาและระบบการพรรณนา ในส่วนแรกของวิทยานิพนธ์ ว่าด้วยการพรรณนาแบบ “representative" กี เดอ โมปัสซองต์ ได้นำเสนอวิธีการพรรณนาทะเลเพื่อแสดงลักษณะสมจริง โดยนำเสนอภาพทะเลที่คุ้นเคยและนำมาผูกกับชีวิตตัวละครตั้งแต่ต้นจนจบ การพรรณนาทะเลของโมปัสซองค์เป็นการพรรณนา ขนาดสั้น บ่อยครั้ง แทรกอยู่ตลอดทั้งเรื่อง และมีบทบาทสำคัญในฐานะเป็นฉากของการดำเนินเรื่อง ทั้งหมด ในส่วนหลัง ว่าด้วยการพรรณนาแบบ "expressive" ผู้ประพันธ์เสนอภาพทะเลในฐานะเป็นฉากสะท้อนอารมณ์ของตัวละคร ไม่ว่าจะเป็นปิแยร์ แม่ หรือจอง การนำเสนอภาพทะเล ที่แทรกอยู่โดยตลอดสามารถทำให้ผู้อ่านเข้าใจตัวละคร และมีความรู้สึกร่วมกับตัวละคร บอกจากนั้น ทะเลยังมีความหมายในเชิงสัญลักษณ์อีกด้วย ทะเลจึงมีบทบาทสำคัญในการเป็นสื่อกลางระหว่างผู้ประพันธ์กับผู้อ่าน
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1996
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75266
ISBN: 9746331027
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Lada_ph_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ799.87 kBAdobe PDFView/Open
Lada_ph_ch0_p.pdfบทที่ 0762.44 kBAdobe PDFView/Open
Lada_ph_ch1_p.pdfบทที่ 11.44 MBAdobe PDFView/Open
Lada_ph_ch2_p.pdfบทที่ 21.01 MBAdobe PDFView/Open
Lada_ph_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก722.32 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.