Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75420
Title: Crystallization of chloronitrobenzenes with the presence of adsorbent: a phase diagram study
Other Titles: การศึกษาแผนภูมิสมดุลการตกผลึกของคลอโรไนโตรเบนซีนในสภาวะที่มีสารดูดซับ
Authors: Rapeporn Thiensuwan
Advisors: Pramoch Rangsunvigit
Santi Kulprathipanja
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Pramoch.R@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Crystallization
Chlorobenzene
การตกผลึก
คลอโรเบนซิน
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A binary phase diagram of m- and p-chloronitrobenzene (CNB) was constructed to study the effects of feed composition on the crystallization. The results show that the feed composition below the eutectic composition resulted in crystals rich in m-CNB, while the feed above the eutectic composition resulted in crystals rich in p-CNB. At the eutectic composition, amorphous precipitates with the composition close to the feed were obtained. KY zeolite was then added to the feed solution to investigate the effects of the zeolite on the crystallization of m-CNB and p-CNB. A binary phase diagram with the KY zeolite was created. It was found that, at the eutectic composition (62.9 wt% m-CNB), the composition was rich in p-CNB, and the amorphous solids became crystal, the crystallization temperature at the eutectic composition was shifted from 23ºC to 20ºC. Above the eutectic composition (65 wt% m-CNB), its crystallization resulted in the crystal rich in p-CNB instead of rich in m-CNB as in the case without the zeolite. And below the eutectic composition, the composition was rich in p-CNB.
Other Abstract: งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการสร้างแผนภูมิสมดุลเพื่อศึกษาการตกผลึกของคลอโรไนโตรเบนซีนในแต่ละสภาวะที่สัดส่วนสารเมทาคลอโรไนโตรเบนซีนต่างกัน เพื่อประโยชน์ในการแยกคลอโรไนโตรเบนซีนซึ่งเป็นสารอนุพันธ์ที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกัน การทดลองแรกเป็นการสร้างแผนภูมิสมดุลการตกผลึกของคลอโรไนโตรเบนซีนโดยไม่มีสารดูดซับ จากผลการวิจัยพบว่าที่สภาวะที่สัดส่วนสารตั้งต้นเมทาคลอโรไนโตรเบนซีนต่ำกว่าจุดยูเทคติค ของแข็งที่เกิดขึ้นมีลักษณะเป็นผลึกใสมีองค์ประกอบของเมทาคลอโรไนโตรเบนชีน และที่สภาวะที่สัดส่วนสารตั้งต้นเมทาคลอโรไนโตรเบนซีนสูงกว่าจุดยูเทคติค ของแข็งที่เกิดขึ้นมีลักษณะเป็นผลึกใสมีองค์ประกอบของพาราคลอโรไนโตรเบนซีนที่จุดยูเทคติค ของแข็งที่เกิดขึ้นมีลักษณะอสัณฐานมีองค์ประกอบใกล้เคียงกับสารผสมเริ่มต้น การทดลองต่อมาเป็นการสร้างแผนภูมิสมดุลการตกผลึกของคลอโรไนโตรเบนซีนโดยเติมสารดูดซับซีโอไลต์โพแทสเซียมชนิดวาย พบว่าที่จุดยูเทคติคการเติมสารดูดซับซีโอไลต์โพแทสเซียมชนิดวาย ผลึกที่ได้มีองค์ประกอบของพาราคลอโรไนโตรเบนซีน และการเติมสารดูดซับซีโอไลต์ทำให้อุณหภูมิที่ใช้ในการตกผลึกเปลี่ยนจาก 23 องศาเซลเซียส (ไม่เติมสารดูดซับซีโอไลต์) เป็น 20 องศาเซลเซียส ที่สัดส่วนสารตั้งต้นเมทาคลอโรไนโตรเบนซีน 65 เปอร์เซนต์ (สัดส่วนสารตั้งต้นเมทาคลอโรไนโตรเบนซีนสูงกว่าจุดยูเทคติค) ผลึกที่เกิดขึ้นมีองค์ประกอบของพาราคลอโรไนโตรเบนซีน ผลที่ได้ต่างจากการไม่ใส่สารดูดซับ และจุดที่ใส่สารดูดซับจุดอื่นที่มีสัดส่วนสารตั้งต้นเมทาคลอโรไนโตรเบนซีนสูงกว่าจุดยูเทคติค ผลึกที่เกิดขึ้นมีองค์ประกอบของเมทาคลอโรไนโตรเบนซีน การใส่สารดูดซับที่สัดส่วนสารตั้งต้นเมทาคลอโรไนโตรเบนซีนต่ำกว่าจุดยูเทคติค สารที่เกิดขึ้นมีลักษณะเป็นผลึกใสมีองค์ประกอบของพาราคลอโรไนโตรเบนซีน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petroleum Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75420
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.2055
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.2055
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rapeporn_th_front_p.pdfCover and abstract826.21 kBAdobe PDFView/Open
Rapeporn_th_ch1_p.pdfChapter 1645.79 kBAdobe PDFView/Open
Rapeporn_th_ch2_p.pdfChapter 21.31 MBAdobe PDFView/Open
Rapeporn_th_ch3_p.pdfChapter 3712.59 kBAdobe PDFView/Open
Rapeporn_th_ch4_p.pdfChapter 41.52 MBAdobe PDFView/Open
Rapeporn_th_ch5_p.pdfChapter 5611.97 kBAdobe PDFView/Open
Rapeporn_th_back_p.pdfReference and appendix770.07 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.