Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76496
Title: Measurement of organisational innovativeness of public agencies in Asean
Other Titles: การวัดระดับความเป็นนวัตกรรมขององค์กรภาครัฐในประเทศสมาชิกอาเซียน
Authors: Salinthip Thipayang
Advisors: Achara Chandrachai
Rath Pichyangkura
Sukree Sinthupinyo
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Subjects: Technological innovations -- ASEAN countries
ASEAN Economic Community Technology
นวัตกรรมทางเทคโนโลยี -- กลุ่มประเทศอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เทคโนโลยี
Issue Date: 2017
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: As public sector organisations strive to balance priorities to meet increasing public demands, they need to be more innovative and changes bureaucratic behaviors, administrative methods, and implementing new way of conducting routine work processes. This study combines both qualitative and quantitative empirical research methods with the objectives to 1) review how organisational innovativeness (OI) has been measured and identify the important factors affecting OI of public agencies, 2) develop and validate a suitable measurement framework model and indicators for measuring OI in ASEAN public agencies, 3) to create an online web-based application (POINTinno.com) to adequately measure OI, and 4) test how POINTinno.com was perceived by the potential users and assess its commercialisation potential. In order to be more innovative and competitive, public organisations require 1) innovative culture, 2) strong transformation leadership, 3) innovative strategy with effective followed-through mechanism to mitigate changes, 4) motivated and capable workforce, 5) sufficient resources and funds, 6) innovative management capability and practices, 7) effective performance monitoring and evaluation system, and 8) outreach collaborative networks and supportive external contexts and regulations to foster innovation.  POINTinno.com was developed to assess OI across ASEAN and the results showed that the scales have high internal consistency and reliability with Cronbach’s Alpha values of 0.896 – 0.955 (n = 290). First order confirmatory factor analysis results revealed that the latent variables and indicators in POINT fitted the empirical data with indices of comparative fit index (CFI) of 0.997, Tucker-Lewis Index (TLI) of 0.995, chi-square χ2 (14, N = 290) = 20.024, p =.129, root mean square error of approximation (RMSEA) of 0.039, and standardized root mean squared residual (SRMR) of 0.011. Moreover, the observed factor loadings of the eight factors of POINT ranged from 0.662 - 0.902 and were significant at p <.01 indicating that the eight factors are the important indicators of public OI.  User technology acceptance test of POINTinno.com revealed that the users were satisfied in using the application as a multi criteria decision analysis and decision support program with high mean average score of 4.12 (SD 0.771). The commercialisation analysis revealed that the NPV of the POINTinn.com was estimated at 1.60 million Baht, IRR=170%, and the estimated payback period of initial total investment at approximately 12 months. This research study contributes to a much needed empirically validated OI framework model as well as the development of a reliable tool to adequately measure, benchmark, and assess public OI in ASEAN developing countries.
Other Abstract: องค์กรภาครัฐจำเป็นที่จะต้องพัฒนาขีดความสามารถและจัดลำดับความสำคัญกิจกรรมในองค์กร เพื่อตอบโจทย์และตอบสนองความต้องการของประชาชน ด้วยการเพิ่มระดับความเป็นนวัตกรรมองค์กร ปรับปรุงรูปแบบการบริหารและดำเนินงานให้มีความคล่องตัว มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น งานวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพร่วมกับเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการวัดระดับความเป็นนวัตกรรมองค์กร และปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อระดับความเป็นนวัตกรรมองค์กรในภาครัฐในอาเซียน 2) พัฒนาและตรวจสอบแบบจำลองระบบการวัดระดับความเป็นนวัตกรรมองค์กร 3) พัฒนาระบบออนไลน์ POINTinno.com เพื่อเป็นเครื่องมือวัดระดับความเป็นนวัตกรรมองค์กร และ 4) ทดสอบการยอมรับจากผู้ใช้งานระบบออนไลน์ และประเมินศักยภาพเชิงพาณิชย์ ผลการศึกษาพบว่าระบบการวัดระดับความเป็นนวัตกรรมองค์กรประกอบด้วยปัจจัย 8 ด้าน คือ 1) วัฒนธรรมนวัตกรรมขององค์กร 2) ผู้นำที่สามารถปฏิรูปองค์กรไปสู่ความสำเร็จ 3) ยุทธศาสตร์องค์กร แผนงานพัฒนานวัตกรรม และระบบกลไกติดตามที่มีประสิทธิภาพ 4) พนักงานมีแรงจูงใจและมีความสามารถสูง 5) ทรัพยากรและโครงสร้างพื้นฐานเพื่อนวัตกรรม 6) หน่วยบริหารองค์กรที่มีแนวปฏิบัติและความสามารถส่งเสริมนวัตกรรม 7) ระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ และ 8) เครือข่ายความร่วมมือและปัจจัยภายนอกที่ส่งเสริมนวัตกรรม จากผลการสำรวจ (n = 290) พบว่าระบบออนไลน์วัดระดับความเป็นนวัตกรรมมีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา Cronbach’s Alpha ที่  0.896 – 0.955 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพบว่าตัวแปรแฝงของโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยผลค่าดัชนี χ2 (14, N = 290) = 20.024, p =.129, CFI = 0.997, TLI = 0.995, RMSEA = 0.039, และ SRMR = 0.011. นอกจากนี้ค่าน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐานมีค่าอยู่ที่ 0.662 - 0.902 และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < 0.01 ผลการสำรวจทดสอบการยอมรับจากผู้ใช้งานพบว่าผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในระดับสูงด้วยคะแนนเฉลี่ย 4.12 (SD 0.771) ผลการประเมินศักยภาพเชิงพาณิชย์พบว่า POINTinno.com มีความน่าสนใจในการลงทุน มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) 1.60 ล้านบาท IRR=170% และระยะเวลาในการคืนเงินทุนตั้งต้นที่ประมาณ 12 เดือน งานวิจัยนี้ศึกษาตรวจสอบด้วยวิธีการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงประจักษ์ สรุปปัจจัยสำคัญและรูปแบบจำลองที่ส่งผลต่อระดับความเป็นนวัตกรรมองค์กรภาครัฐ เและ POINTinno.com เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ต่อการวัดระดับความเป็นนวัตกรรมองค์กรภาครัฐในประเทศที่กำลังพัฒนาในอาเซียน
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2017
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Technopreneurship and Innovation Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76496
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.537
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2017.537
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5587814820.pdf15.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.