Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76501
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Saikaew Thipakorn | - |
dc.contributor.advisor | Somporn Kamolsiripichaiporn | - |
dc.contributor.author | Guill Marc Daus Mariano | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | - |
dc.date.accessioned | 2021-09-21T06:45:27Z | - |
dc.date.available | 2021-09-21T06:45:27Z | - |
dc.date.issued | 2015 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76501 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2015 | - |
dc.description.abstract | Southeast Asia is a melting pot of various belief systems, traditions, customs, and cultures, influencing greatly the way of life in this part of the world. This study was conducted to identify dominant cultures and analyze their role on how Corporate Social Responsibility (CSR) is perceived and integrated by the private sectors in the region, looking at the cases of Malaysia’s CIMB Group, Philippines’ San Miguel Corporation (SMC), and Thailand’s Siam Cement Group (SCG) as case studies. Deploying Easton’s Systems Theory to analyze the CSR motivation, CSR practice, and CSR focus and themes of each company, this study posits that CSR has evolved, practiced, and focused differently in each company due to various factors and priorities at the global, national, company, and societal levels. This was affirmed by the Need-Based Approach of SMC, the Global Competitiveness Approach of SCG, and Institutionalized Approach of CIMB Group. These approaches provide a model that may explain and inform the development phases of CSR in ASEAN and its future direction. In analyzing the development and practiced of CSR, this study affirms that culture is in the heart of CSR practices in ASEAN, transferred by actors through the stakeholder’s engagement process. This was demonstrated by the early accounts of CSR practices in the region even before the term has emerged globally. Early practices of CSR are conducted in the name of religion, belief system, traditions, and customs. This study further concludes that as the company expands, it transforms traditions and cultures into corporate culture, reflecting more widely known international norms. This then in effect creates more CSR awareness to the business community, and to the society as a whole. This study affirms its hypothesis that culture affects CSR policy in the region, and at the same time, policy affects and transforms culture. With this understanding, CSR still has a lot of room for development, and this study suggests that culture can serve as a communication tool to encourage, promote, deeply understand, and integrate CSR into the business strategies of Southeast Asian companies. | - |
dc.description.abstractalternative | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นแหล่งรวมระบบความเชื่อ แบบแผน จารีตประเพณี และวัฒนธรรมที่หลากหลายซึ่งมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนในภูมิภาค วิทยานิพนธ์ฉบับนี้กล่าวถึงวัฒนธรรมหลักและการรับรู้ รวมถึงการบูรณาการวัฒนธรรมหลักเข้าสู่การดำเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility – CSR) ของภาคเอกชนในภูมิภาค โดยมีกลุ่ม CIMB ในประเทศมาเลเซีย บริษัท San Miguel Corporation (SMC) ในประเทศฟิลิปปินส์ และบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) (SCG) ในประเทศไทย เป็นกรณีศึกษา และใช้ทฤษฎีระบบของอีสตัน (Easton’s Systems Theory) ในการวิเคราะห์แรงจูงใจ วิธีการดำเนินการ เป้าหมาย และทิศทางในการดำเนินกิจกรรม CSR การศึกษานี้สะท้อนให้เห็นว่า แต่ละองค์กรธุรกิจมีการพัฒนา การดำเนินการ และเป้าหมายในการดำเนินกิจกรรม CSR ที่แตกต่างกัน อันเป็นผลมาจากปัจจัยที่หลากหลาย รวมถึงการจัดลำดับความสำคัญของประเด็นความสนใจในระดับโลก ระดับชาติ ระดับองค์กร และระดับสังคม ที่แตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นแนวทางที่อิงความต้องการของสังคม (Need-Based Approach ) ของ SMC แนวทางที่มุ่งเน้นความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก (Global Competitiveness Approach) ของ SCG หรือ แนวทางของการบริหารเชิงสถาบัน (Institutionalized Approach) ของกลุ่ม CIMB ซึ่งแนวทางการดำเนินกิจกรรม CSR ของแต่ละกลุ่มบริษัทนั้นได้สะท้อนแบบจำลองที่อธิบายวิวัฒนาการ รวมถึงทิศทางของ CSR ในอนาคตของภาคเอกชนในกลุ่มประเทศอาเซียน จากการวิเคราะห์การพัฒนาและการดำเนินการ CSR สรุปได้ว่า วัฒนธรรมเป็นหัวใจสำคัญของการดำเนินกิจกรรม CSR โดยมีการส่งถ่ายวัฒนธรรมผ่านผู้มีบทบาทต่างๆ ในขั้นตอนของการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในอาเซียนนั้นมีการเริ่มดำเนินการมาก่อนที่มีการใช้คำเรียก CSR กันทั่วโลก โดยดำเนินการภายใต้อิทธิพลจากศาสนา ระบบความเชื่อ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี นอกจากนี้ ยังสรุปเพิ่มเติมว่า เมื่อบริษัทเติบโตขึ้น วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีจะถูกขมวดและประยุกต์เข้ามาเป็นวัฒนธรรมองค์กร ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงบรรทัดฐานการดำเนินธุรกิจในระดับสากล ทั้งยังส่งผลให้เสริมสร้างความสำนึกในการรับผิดชอบต่อส่วนรวมขององค์กรในแวดวงธุรกิจและของสังคมในวงกว้าง การศึกษาวิจัยนี้ได้พิสูจน์สมมติฐานที่ว่า วัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อนโยบายการดำเนินการ CSR ในภูมิภาค และในขณะเดียวกัน นโยบายดังกล่าวก็ส่งผลกระทบและสร้างความเปลี่ยนแปลงต่อวัฒนธรรม สำหรับการพัฒนา CSR นั้น ยังมีโอกาสและรูปแบบที่ดำเนินการได้อีกมากมาย ซึ่งการศึกษาวิจัยนี้ได้แสดงถึงศักยภาพของการใช้การสื่อสารเชิงวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือในการส่งเสริม สนับสนุน และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ CSR รวมถีงการบูรณาการ CSR สู่กลยุทธ์ทางธุรกิจขององค์กรในภูมิภาคอาเซียน | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject | วัฒนธรรมองค์การ | - |
dc.subject | ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ -- ไทย | - |
dc.subject | ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ -- มาเลเซีย | - |
dc.subject | ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ -- ฟิลิปปินส | - |
dc.subject | Corporate culture | - |
dc.subject | Social responsibility of business -- Thailand | - |
dc.subject | Social responsibility of business -- Malaysia | - |
dc.subject | Social responsibility of business -- Philippines | - |
dc.subject.classification | Social Sciences | - |
dc.title | The role of culture in corporate social responsibility practices in Asean: the cases of Malaysia, Philippines, and Thailand | - |
dc.title.alternative | บทบาทของวัฒนธรรมในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ในอาเซียน: กรณีศึกษาประเทศมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Master of Arts | - |
dc.degree.level | Master's Degree | - |
dc.degree.discipline | Southeast Asian Studies | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5787554820.pdf | 3.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.