Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76606
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกวิน อัศวานันท์-
dc.contributor.authorณิชกานต์ ซำศิริพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-09-21T06:48:32Z-
dc.date.available2021-09-21T06:48:32Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76606-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractจากสถานการณ์ตลาด K-pop ที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องในหลายภูมิภาคทั่วโลก ซึ่งหนึ่งในแพลตฟอร์มที่กลุ่มแฟนคลับนิยมใช้ในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับศิลปินมากที่สุด ได้แก่ สื่อสังคมออนไลน์อย่าง ทวิตเตอร์ จากสถิติตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ทั่วโลกมีการทวีตเกี่ยวกับ K-pop มากกว่า 6,700 ล้านทวีต อย่างไรก็ตามทวิตเตอร์ก็ยังคงพบปัญหาในการใช้งานหลายอย่าง โดยเฉพาะเรื่องความน่าเชื่อถือของผู้ใช้งาน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบแพลตฟอร์มสำหรับแฟนคลับศิลปินเกาหลี โดยได้ทำการศึกษาแนวคิด พฤติกรรม และปัญหาการใช้แพลตฟอร์มของแฟนคลับศิลปินเกาหลี ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มแฟนคลับศิลปินเกาหลี จำนวน 10 ราย ใน 4 หัวข้อ ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์, คำถามเกี่ยวกับการเป็นแฟนคลับศิลปินเกาหลี, คำถามเกี่ยวกับการทำกิจกรรมของกลุ่มแฟนคลับศิลปินเกาหลี และคำถามเกี่ยวกับการใช้แพลตฟอร์มของกลุ่มแฟนคลับศิลปินเกาหลี และได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์ พร้อมทั้งนำมาใช้เพื่อออกแบบคุณลักษณะของแพลตฟอร์มสำหรับแฟนคลับศิลปินเกาหลี ซึ่งสามารถออกแบบคุณลักษณะได้ 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ Community, Marketplace และ Project โดยจากการทดสอบการยอมรับกับกลุ่มเป้าหมายจำนวน 17 ราย พบว่ากลุ่มเป้าหมายร้อยละ 94.12 ให้การยอมรับต้นแบบแพลตฟอร์มสำหรับแฟนคลับศิลปินเกาหลี-
dc.description.abstractalternativeThe K-pop market is growing steadily in many countries around the world. The most popular community platform of K-pop fans is Twitter. Fans connects with their favorite Korean artists and participates in the conversations with each other around the world, setting a new global record of 6.7 billion K-pop related Tweets in 2020. However, the current platform, Twitter, still has many problems for serving the K-pop fans in this domain. Particularly, the platform does not exhibit trust and reliability among the fan users. The objective of this research is to develop a prototype of the Korean artist fan clubs platform. The study is conducted as a qualitative research through an in-depth interview. There are a total of 10 participants who are Korean artist fan clubs. The researcher inquires the participants in four main topics: demographics, fan identity, fans activities, and current platform’s issues. The collected data were analyzed and used to designed prototype of platform with three main features: Community, Marketplace, and Project. The result of acceptance test revealed that 94.12% of 17 participants are willing to adopt the prototype of Korean artist fan clubs platform.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.293-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectนักร้อง -- เกาหลี (ใต้)-
dc.subjectศิลปิน -- เกาหลี (ใต้)-
dc.subjectการสร้างต้นแบบซอฟต์แวร์-
dc.subjectSingers -- Korea (South)-
dc.subjectArtists -- Korea (South)-
dc.subjectSoftware prototyping-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.subject.classificationBusiness-
dc.titleการพัฒนาแพลตฟอร์มสำหรับแฟนคลับศิลปินเกาหลี-
dc.title.alternativeDevelopment of Korean artist fan clubs platform-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.293-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280118720.pdf3.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.