Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77163
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมชนม์ สถิระพจน์-
dc.contributor.authorพูนทรัพย์ ทะริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-22T23:32:22Z-
dc.date.available2021-09-22T23:32:22Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77163-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractSatellite Based Augmentation System (SBAS) เป็นระบบเสริมดาวเทียมที่ให้บริการค่าแก้สำหรับดาวเทียม GNSS ซึ่งครอบคุมพื้นที่บริการเป็นบริเวณกว้างและมีการพัฒนาในประเทศต่างๆทั่วโลก เนื่องจากประเทศไทยไม่ได้อยู่ในพื้นที่บริการแต่ก็รับสัญญาณจากระบบดาวเทียม SBAS ได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นศึกษาการประเมินค่าความถูกต้องทางตำแหน่งโดยการใช้ค่าแก้จากระบบดาวเทียม SBAS ประมวลผลร่วมกับข้อมูลรังวัดด้วยดาวเทียมนำหน GPS สำหรับการประมวลผลการรังวัดตำแหน่งแบบจุดเดี่ยวในพื้นที่ประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลจากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอ้างอิงถาวร (Continuously Operating Reference Stations: CORS) จากกรมแผนที่ทหาร จำนวน 40 สถานี ในช่วงเดือนกันยายน 2562, เดือนธันวาคม 2562 และเดือนเมษายน 2563 และข้อมูลค่าแก้จากระบบดาวเทียม SBAS ที่ครอบคลุมประเทศไทยโดยใช้ข้อมูลรังวัดด้วยระบบดาวเทียมนำหน GPS ประมวลผลด้วยวิธีการประมวลผลจุดเดี่ยวความละเอียดสูง (Precise Point Positioning: PPP) เป็นค่าพิกัดอ้างอิงเพื่อใช้เปรียบเทียบกับการประมวลผลค่าพิกัดจากข้อมูลรังวัดด้วยระบบดาวเทียมนำหน GPS เพียงอย่างเดียว ด้วยวิธีการประมวลผลหาตำแหน่งจุดเดี่ยว (Single Point Positioning: SPP) และการประมวลผลค่าพิกัดจากข้อมูลรังวัดด้วยระบบดาวเทียมนำหน GPS โดยใช้ค่าแก้จากระบบดาวเทียม SBAS ด้วยวิธีการประมวลผลหาตำแหน่งจุดเดี่ยว (Single Point Positioning: SPP) ผลการศึกษาพบว่าปัจจุบันประเทศไทยสามารถรับสัญญาณจากระบบดาวเทียม SBAS ได้ 3 ระบบ คือ SPAN, GAGAN, และ BDSBAS ซึ่งค่าแก้ทั้ง 3 ระบบข้างต้น ไม่สามารถเพิ่มค่าความถูกต้องทางตำแหน่งทางราบและทางดิ่งได้โดยเฉลี่ย-
dc.description.abstractalternativeSatellite Based Augmentation System (SBAS) is the additional system that provide services for improving the accuracy of Global Navigation Satellite Systems (GNSS). The SBAS service supports wide-area and is recently developed in many countries around the world. Since Thailand is not located within the service area, Thailand can still receive the correction message from SBAS.  This research, therefore, aims to study on an evaluation of positioning accuracy using the correction message from SBAS combined with standard positioning service from GPS in Thailand. Use of 40 CORS Stations operated by Royal Thai Survey Department during September 2019, December 2019, and April 2020. The results from the GPS Single Point Positioning technique (SPP) and the GPS Single Point Positioning technique (SPP) combined with SBAS messages are compared with the coordinate reference by using the GPS Precise Point Positioning technique (PPP). The research shows that Thailand can receive the correction message from 3 SBASs including SPAN, GAGAN, and BDSBAS. The above 3 SBASs cannot improve both the horizontal and vertical positioning results compared with the standard positioning service from GPS.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.1148-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการรังวัด-
dc.subjectดาวเทียมในการรังวัด-
dc.subjectSurveying-
dc.subjectArtificial satellites in surveying-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการประเมินค่าความถูกต้องทางตำแหน่งโดยใช้ค่าแก้จากระบบดาวเทียม SBAS ร่วมกับการรังวัดด้วยระบบดาวเทียม GPS สำหรับการประมวลผลการรังวัดตำแหน่งแบบจุดเดี่ยวในพื้นที่ประเทศไทย-
dc.title.alternativePosition accuracy evaluation using the correction of the SBAS combined with GPS for single point positioning in Thailand-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2020.1148-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6170234821.pdf4.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.