Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77204
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณี แสงแก้ว-
dc.contributor.authorวศิน ชีวจรัสสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-22T23:36:39Z-
dc.date.available2021-09-22T23:36:39Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77204-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractการตรวจวัดรังสีนั้นจำเป็นต้องมีอุปกรณ์ในการตรวจวัดรังสี และอุปกรณ์วัดรังสีมีส่วนประกอบที่สำคัญคือหัววัดรังสี และหัววัดรังสีชนิดผลึกเรืองแสงเป็นที่นิยมใช้งานเนื่องด้วยมีประสิทธิภาพการวัดรังสีที่ดีแต่ว่ามีราคาที่ค่อนข้างแพง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นในการพัฒนาผลึกเพื่อใช้การตรวจวัดรังสี ด้วยวิธีการปลูกแบบบริดจ์แมน-สต็อกบาร์เกอร์ที่ปรับปรุงขึ้นเอง โดยศึกษาการเพิ่มปริมาณสัดส่วนของสตรอนเชียมไอโอไดด์ร้อยละ 1, 3 และ 5 จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพผลึกและคุณสมบัติทางแสงของผลึกอย่างไร โดยทำการวิเคราะห์โครงสร้างผลึก คุณภาพผลึก และคุณสมบัติทางแสง พบว่าเมื่อปริมาณสัดส่วนสตรอนเชียมไอโอไดด์เพิ่มขึ้นในปริมาณเล็กน้อยนี้ โครงสร้างผลึกและคุณภาพความเป็นผลึกมีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก คือเกิดสภาวะความเครียดแบบบีบอัดในผลึกเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย โดยมีค่าคงที่แลตทิชเฉลี่ยเท่ากับ 4.4647 ± 0.0707, 4.5156 ± 0.0370 และ 4.4574 ± 0.0958 Å ทำให้เกิดสภาวะความเครียดแบบบีบอัดในผลึกเป็น -2.23%, -1.12% และ -2.39%  และขนาดผลึกมีขนาดใหญ่ขึ้นเล็กน้อยคือ 16.47 ± 0.89, 16.62 ± 0.93 และ 16.72 ± 1.15 nm ตามลำดับ โดยรวมถือว่าไม่ส่งผลเสียต่อโครงสร้างผลึกและคุณภาพความเป็นผลึกเมื่อผสมสตรอนเชียมปริมาณเล็กน้อย แต่ว่าสตรอนเชียมที่ผสมเข้าไปช่วยทำให้แสงที่เปล่งออกมาจากผลึกมีความเข้มของการเปล่งแสงสูงมากขึ้น และแสงมีความยาวคลื่นที่เพิ่มมากขึ้นเป็นประมาณ 595-600 nm สำหรับการทดสอบประสิทธิภาพการตรวจวัดรังสีแกมมาของผลึกขนาด f 1 cm. x 1 cm. พบว่า ผลึกที่มีอัตราส่วนร้อยละ 1, 3 และ 5(หนา 0.5 cm.) มีประสิทธิภาพการวัดรังสีร้อยละ 78.92, 80.54 และ 61.19 และมีความสามารถในการแยกพลังงานรังสี 76.72, 70.62 และ 47.62 ตามลำดับ ของการตรวจวัดรังสีพลังงาน 122 keV และประสิทธิภาพการวัดรังสีลดลงในกรณีการวัดรังสีแกมมาพลังงาน 662 keV เท่ากับ 22.78, 26.10 และ 14.50 ตามลำดับ -
dc.description.abstractalternativeThe scintillation detectors are one of the most popular utilization because of their high suitable properties and radiation-measurement efficiency but they are quite expensive. Therefore, the development of scintillators is the attractive topic for long time. This work aims to investigate the new one of cesium strontium iodide. There are 3 different compositions of cesium iodide and strontium iodide of 99:1, 97:3 and 95:5. As the result of crystal analysis, the crystal structure and crystalline quality are slightly worse with the increased composition of strontium iodide due to the compressive strain in the grown crystal samples by decreasing their lattice parameters as 4.4647 ± 0.0707, 4.5156 ± 0.0370 and 4.4574 ± 0.0958 Å. With the increased strontium composition, the crystal size was slightly bigger from 16.47 ± 0.89, 16.62 ± 0.93 to 16.72 ± 1.15 nm, respectively. However, higher amount of strontium could enhance the optical properties with higher intensity and longer wavelength of 595-600 nm of light emission. To investigate the efficiency of radiation detection of 122 keV from Co-57, the crystals with a composition of 99:1, 97:3 and 95:3 have the intrinsic efficiency of 78.92, 80.54 and 61.19 and the energy resolutions of 76.72, 70.62 and 47.62, respectively. In case of the gamma spectroscopy of 662 keV from Cs-137, the crystals have the intrinsic efficiency of 22.78, 26.10 and 14.50, respectively.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttps://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.523-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationPhysics and Astronomy-
dc.subject.classificationPhysics and Astronomy-
dc.subject.classificationPhysics and Astronomy-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการพัฒนาผลึกซีเซียมสตรอนเชียมไอโอไดด์เพื่อใช้ในการตรวจวัดรังสี-
dc.title.alternativeDevelopment of cesium strontium iodide crystals for radiation detection-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีนิวเคลียร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2020.523-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6170507121.pdf7.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.