Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77576
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์-
dc.contributor.advisorเบญจพล เฉลิมสินสุวรรณ-
dc.contributor.authorนิธิวดี อินทร์มณี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-10-12T01:56:57Z-
dc.date.available2021-10-12T01:56:57Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77576-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561en_US
dc.description.abstractปัจจุบันปัญหาภาวะโลกร้อนส่งผลกระทบโดยตรงต่อโลกในหลายๆ ด้าน เช่น อุณหภูมิบรรยากาศที่สูงขึ้น ปัญหาพายุ และปัญหาภัยแล้ง โดยสาเหตุหลักมาจากการปลดปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศในปริมาณมาก ดังนั้น การดักจับและกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ก่อนปลดปล่อยสู่บรรยากาศจึงมีความสำคัญ สำหรับการออกแบบและการจำลองกระบวนการแยกสาร ข้อมูลสมดุลการดูดซับและจลนศาสตร์การดูดซับถือเป็นข้อมูลพื้นฐานที่มีความสำคัญและจำเป็น ในการพัฒนาและหาแบบจำลองที่บ่งบอกธรรมชาติของการดูดซับนั้นๆ ในงานวิจัยนี้ทำการศึกษาสมดุลการดูดซับและจลนศาสตร์การดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ของตัวดูดซับโพแทสเซียมคาร์บอเนตบนตัวรองรับแกมม่าอลูมินา โดยทำการทดลองที่อุณหภูมิ 45, 60 ,75 และ 90 องศาเซลเซียส ความดันช่วง 0-1 บาร์ ข้อมูลที่ได้จะนำมาสร้างความสัมพันธ์กับแบบจำลอง จากผลการทดลอง พบว่า แบบจำลองของซิปส์เป็นแบบจำลองที่เหมาะสมที่สุดในการอธิบายสมดุลการดูดซับ การดูดซับเกิดขึ้นบนตัวดูดซับที่มีความไม่เป็นเนื้อเดียวกัน เนื่องจากการปรับปรุงตัวดูดซับด้วยการอิมเพรกบนตัวรองรับแกมม่าอลูมินา และแบบจำลองของอาฟรามี เป็นแบบจำลองที่เหมาะสมในการอธิบายจลนศาสตร์การดูดซับที่สุด บ่งบอกว่ากระบวนการดูดซับมีความซับซ้อน กล่าวคือเกิดการดูดซับเชิงกายภาพร่วมกับการดูดซับเชิงเคมี และมีกลไกการเกิดปฏิกิริยามากกว่าหนึ่งกลไก นอกจากนี้ยัง พบว่า ภาวะที่ดีที่สุดในการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์คือที่ ความดัน 1 บาร์ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสen_US
dc.description.abstractalternativeAt present, global warming has a direct impact on the world in many ways, such as rising atmospheric temperatures, storms and drought. The main cause is the release of large amounts of carbon dioxide into the atmosphere. Thus, CO₂ capture becomes an importance. For the design and simulation of separation processes, the equilibrium adsorption is essential basic information. In this study, the equilibrium adsorption isotherms and kinetic adsorption of CO₂ on K₂CO₃/γ-Al₂O₃ were measured using a static volumetric method. The CO₂ adsorption measurements were performed at different temperatures (45, 60, 75 and 90 ºC) and pressures (0-1 bar). The obtained data were used to plot relationship with the model. From the result, it was found that Sips isotherm was the suitable model to explain this adsorption process. CO₂ adsorption occurs on a heterogeneous surface of sorbent due to the improvement of the adsorbent by impregnation on the gamma alumina support. Kinetic studies were also presented, Avrami’s model was the best fit model of this adsorption. It indicated that the adsorption process was complex, depending on physical adsorption, chemical adsorption and many mechanisms of adsorption. In addition, it was found that the optimal condition for CO₂ adsorption was at pressure of 1 bar and temperature of 60 degrees Celsius.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.557-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์ -- การดูดซึมและการดูดซับ-
dc.subjectสมดุล-
dc.subjectCarbon dioxide -- Absorption and adsorption-
dc.subjectEquilibrium-
dc.titleเส้นโค้งสมดุลของการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยโพแทสเซียมคาร์บอเนตในฟลูอิไดซ์เบดen_US
dc.title.alternativeEquilibrium curve of carbon dioxide sorption using potassium carbonate in fluidized beden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.557-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5971997623.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.