Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77756
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์-
dc.contributor.authorทัชณี ศิลารัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2021-11-11T09:25:02Z-
dc.date.available2021-11-11T09:25:02Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.issn9745325643-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77756-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างของคะแนนจรรยาวิพากษ์ของแพทย์ ไทยเพศชายและเพศหญิงที่มีระดับของประสบการณ์การทำงานที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็น แพทย์ชายและหญิง ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลที่เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยทั่วประเทศไทย ใน แต่ละกลุ่มแบ่งเป็นแพทย์ที่มีประสบการณ์การทำงาน 1-5 ปี เพศชาย จำนวน 40 คน และเพศหญิง จำนวน 40 คน แพทย์ที่มีประสบการณ์การทำงาน 6-10 ปี เพศชาย จำนวน 40 คน และเพศหญิง จำนวน 40 คน แพทย์ที่มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 10 ปี เพศชาย จำนวน 40 คน และเพศหญิงจำนวน 40 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 240 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสำรวจ ภูมิหลังของกลุ่มตัวอย่างและแบบวัดจรรยาวิพากษ์ ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นโดยการดัดแปลงจากแบบ วัดของ สุสารี วิวัฒน์ศุภร (2544) และได้ปรับปรุงให้มีความเหมาะสมกับงานวิจัยนี้ การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two-Way Analysis of Variance) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อน (Multiple Comparison) โดยวิธีทดสอบของ Scheffe' ผลการวิจัยพบว่า 1. แพทย์ที่มีระดับประสบการณ์การทำงาน 6-10 ปี มีคะแนนจรรยาวิพากษ์สูงกว่าแพทย์ ที่มีระดับประสบการณ์การทำงานมากกว่า 10 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. แพทย์ไทยทั้งเพศชายและเพศหญิงมีคะแนนจรรยาวิพากษ์ไม่แตกต่างกัน 3. ไม่พบปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างระดับประสบการณ์การทำงาน และเพศ ที่ส่งผลต่อ คะแนนจรรยาวิพากษ์-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the moral judgment scores of Thai male and female physicians working in medical school hospitals in Thailand with different years of work experience. Two hundred and forty subjects comprised of one hundred and twenty females, one hundred and twenty males with equal number of participants in each group: 1-5 years, 6-10 years and more than 10 years. The instruments were the questionnaire of subject's background and The Moral Judgment Test modified from Susaree Vivutsuporn (2001). The data were analyzed by Two-Way Analysis of Variance and multiple comparisons by Scheffe' test. The results are as follows 1. Moral judgment scores of Thai physicians with 6-10 years of work experience are significantly higher than Thai physicians with more than 10 years of work experience. (p <.05) 2. There is no difference in moral judgment scores between Thai male and female physicians. 3. There is no interaction effect between years of work experience and gender of Thai physicians on moral judgment.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1934-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแพทย์ -- ไทยen_US
dc.subjectจรรยาวิพากษ์en_US
dc.subjectจรรยาแพทย์en_US
dc.subjectPhysicians -- Thailanden_US
dc.subjectJudgment (Ethics)en_US
dc.subjectMedical ethicsen_US
dc.titleจรรยาวิพากษ์ของแพทย์ไทยen_US
dc.title.alternativeThe Moral Judgment of Thai Physiciansen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1934-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Touchanee_si_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ824.1 kBAdobe PDFView/Open
Touchanee_si_ch1_p.pdfบทที่ 11.73 MBAdobe PDFView/Open
Touchanee_si_ch2_p.pdfบทที่ 2937.87 kBAdobe PDFView/Open
Touchanee_si_ch3_p.pdfบทที่ 3978.37 kBAdobe PDFView/Open
Touchanee_si_ch4_p.pdfบทที่ 4807.28 kBAdobe PDFView/Open
Touchanee_si_ch5_p.pdfบทที่ 5695.01 kBAdobe PDFView/Open
Touchanee_si_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.