Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวชิราพร อัจฉริยโกศล-
dc.contributor.authorรื่นจิต พัฒนยินดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-08-25T01:58:38Z-
dc.date.available2008-08-25T01:58:38Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746375938-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7844-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractศึกษาประเภทของตัวชี้นำความลึกในภาพบนจอคอมพิวเตอร์ ที่มีผลต่อการรับรู้ความลึกในภาพของเด็กอนุบาล และเปรียบเทียบตัวชี้นำความลึกประเภทต่างๆ ในภาพบนจอคอมพิวเตอร์ที่เด็กอนุบาลมีการรับรู้ความลึกในภาพได้ดีที่สุด โดยใช้ตัวชี้นำความลึก 7 ประเภทคือ ตัวชี้นำความลึกแบบซ้อนทับ ตัวชี้นำความลึกแบบขนาด ตัวชี้นำความลึกแบบพื้นผิว ตัวชี้นำความลึกแบบแนวเส้น ตัวชี้นำความลึกแบบเลือนหาย ตัวชี้นำความลึกแบบแสงเงา ตัวชี้นำความลึกแบบมุมสูง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นเด็กในระดับชั้นอนุบาลที่มีอายุระหว่าง 5-6 ปี จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้วัดการรับรู้ความลึกในภาพของเด็กอนุบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (One-Way Analysis of Variance, Repeated Measurement) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนแต่ละคู่ (Multiple Comparison) โดยวิธีของ Tukey ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. การรับรู้ตัวชี้นำความลึกในภาพบนจอคอมพิวเตอร์ของเด็กอนุบาลเมื่อใช้ตัวชี้นำความลึก 7 ประเภทคือ ตัวชี้นำความลึกแบบซ้อนทับ (Interposition) ตัวชี้นำความลึกแบบขนาด (Size) ตัวชี้นำความลึกแบบพื้นผิว (Texture gradient) ตัวชี้นำความลึกแบบแนวเส้น (Linear perspective) ตัวชี้นำความลึกแบบเลือนหาย (Atmospheric perspective) ตัวชี้นำความลึกแบบแสงเงา (Shading) และตัวชี้นำความลึกแบบมุมสูง (Height) มีผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ตัวชี้นำความลึกแบบแนวเส้น (Linear perspective) มีผลต่อการรับรู้ความลึกในภาพบนจอคอมพิวเตอร์ของเด็กอนุบาล ได้ดีกว่าตัวชี้นำความลึกแบบอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เรียงตามลำดับการรับรู้ของเด็กอนุบาลจากมากไปน้อยดังต่อไปนี้ ตัวชี้นำความลึกแบบมุมสูง (Height) ตัวชี้นำความลึกแบบซ้อนทับ (Interposition) ตัวชี้นำความลึกแบบเลือนหาย (Atmospheric perspective) ตัวชี้นำความลึกแบบขนาด (Size) ตัวชี้นำความลึกแบบพื้นผิว (Texture gradient) และตัวชี้นำความลึกแบบแสงเงา (Shading)en
dc.description.abstractalternativeTo study types of depth cues in pictures on computer screen upon kindergarten children's perception and compare the best types of depth cues in pictures on computer screen upon kindergarten children's perception. The depth cues which were studied in this research were : Interposition, size, texture gradient, linear perspective, atmospheric perspective, shading, height. The samples were 120 of kindergarten children ages 5-6. The data collected were analyzed by using one-way analysis of variance. Mean scores of each pair of depth cues were compared by the Tukey test methos. The results of this research were summarized as follows : 1. There were significant differences upon children's perception among the seven different types of depth cues at .05 level. 2. Linear perspective of depth cues upon kindergarten children's perception was significant better than height, interposition, atmospheric perspective, size, texture gradient, and shading at .05 level.en
dc.format.extent950805 bytes-
dc.format.extent1016923 bytes-
dc.format.extent2778203 bytes-
dc.format.extent1065401 bytes-
dc.format.extent966305 bytes-
dc.format.extent1119581 bytes-
dc.format.extent1818006 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการรับรู้en
dc.subjectการรับรู้ทางสายตาในเด็กen
dc.subjectการรับรู้ภาพen
dc.titleประเภทของตัวชี้นำความลึกในภาพบนจอคอมพิวเตอร์ ที่มีผลต่อการรับรู้ของเด็กอนุบาลen
dc.title.alternativeTypes of depth cues in pictures on computer screen upon kindergarten children's perceptionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVachiraporn.A@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruenjit_Pa_front.pdf928.52 kBAdobe PDFView/Open
Ruenjit_Pa_ch1.pdf993.09 kBAdobe PDFView/Open
Ruenjit_Pa_ch2.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open
Ruenjit_Pa_ch3.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Ruenjit_Pa_ch4.pdf943.66 kBAdobe PDFView/Open
Ruenjit_Pa_ch5.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Ruenjit_Pa_back.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.