Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์-
dc.contributor.authorวิมลมาศ มานุวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-07T03:53:00Z-
dc.date.available2022-06-07T03:53:00Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78735-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractล่ามพูดพร้อมเป็นล่ามที่ทำการแปลอย่างฉับพลันเพื่อถ่ายทอดข้อความจากผู้พูดภายในระยะเวลาที่จำกัด ภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ย่อมเกิดข้อผิดพลาดในการแปลได้ และข้อผิดพลาดนี้เป็นปัญหาที่ล่ามต้องเผชิญอยู่บ่อยครั้งงานการศึกษาชิ้นนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเภทของข้อผิดพลาดและวิเคราะห์สาเหตุของข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในการทำล่ามพูดพร้อมของนักเรียนล่ามเพื่อหาแนวทางที่สามารถเป็นแนวปฏิบัติเพื่อลดข้อผิดพลาดได้โดยเลือกศึกษาจากการแปลภาษาอังกฤษ เป็นภาษาไทยผ่านผู้เข้าร่วมการทดลองซึ่งเป็นนักเรียนล่ามที่มีประสบการณ์ราว 2 ปีจำนวน 5 คนด้วยวิธีการบันทึกเทปการแปลของผู้เข้าร่วมการทดลองจากคลิปวิดีโอที่คัดเลือกไว้ และมีการสัมภาษณ์หลังจากให้ผู้เข้าร่วมการทดลองดูคำบันทึกเทปของตน โดยผลการทดลองพบว่าข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นเด่นชัดมี 3 ประเภท คือการละข้อความเกิดขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 63.3 ของเนื้อความ และการเพิ่มข้อความเกิดขึ้นในอัตราเฉลี่ยเพียงร้อยละ 1.8 เมื่อเทียบกับใจความของผู้พูด ขณะที่การแทนที่ความเกิดขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 24.3 โดยผู้เข้าร่วมการทดลองมีความเห็นว่าการละข้อความและการเพิ่มข้อความนั้นสามารถนำมาใช้เป็นเทคนิคในบางโอกาสเพื่อให้การแปลดำเนินไปได้อย่างราบรื่น ขณะที่การแทนที่ความนั้นเป็นข้อผิดพลาดที่ควรหลีกเลี่ยงen_US
dc.description.abstractalternativeA simultaneous interpreter provides immediate interpretation under limited time and other constraints. This may cause interpretation errors. This article aims to study the types of errors, analyze the cause of errors and propose solutions to decrease errors for interpreting students. The study involves analysis of recorded interpretation from English into Thai by five interpreting students of the Faculty of Arts, Chulalongkorn University who had approximately two years of interpretation experience. The five participants were also interviewed after the recorded interpretation was transcribed and presented to them. Three types of obvious errors were found, namely omission, addition and substitution. On average, 63.3% of the original material were omitted, 1.8% were added and 24.3% were substituted. The interviews from interpreting students show that omission and addition could be occasionally used as techniques to deliver a smooth and continuous interpretation, whereas substitution should be avoided.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1625-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักแปล -- ไทยen_US
dc.subjectการแปลและการตีความ -- ไทยen_US
dc.subjectความผิดพลาดen_US
dc.subjectTranslators -- Thailand-
dc.subjectTranslating and interpreting -- Thailand-
dc.subjectErrors-
dc.titleการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการทำล่ามพูดพร้อมในนักเรียนล่ามen_US
dc.title.alternativeError analysis in simultaneous interpretation of interpreting studentsen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการแปลและการล่ามen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNunghatai.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1625-
Appears in Collections:Arts - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wimonmas Ma_tran_2014.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.