Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคารินา โชติรวี-
dc.contributor.authorปรางค์ทยา วงศ์กำแหงหาญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-30T01:32:11Z-
dc.date.available2022-06-30T01:32:11Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79036-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาทฤษฏีการแปลและหาแนวทางแปลเพื่อถ่ายทอดวัจนลีลาของตัวละครเอกในบทละครเรื่อง Look Back in Anger ของ จอห์น ออสบอร์น ผู้วิจัยมีจุดประสงค์ให้เป็นบทละครแปลเพื่อการอ่านที่มีสมมูลภาพทางความหมายและอรรถรสเทียบเคียงกับต้นฉบับ ตลอดจนหาวิธีการแก้ไขปัญหาการแปลทางด้านชื่อเฉพาะและสิ่งที่ละไว้ในฐานที่เข้าใจ (Presupposition) ซึ่งเป็นประเด็นปัญหาหลักและเป็นวัจนลีลาอันโดดเด่นของบทละครเรื่องนี้ ผู้วิจัยตั้งสมมติฐานว่า ในการบรรลุจุดประสงค์การแปลบทละครเรื่องนี้ ผู้วิจัยควรประยุกต์ใช้แนวทางการวิเคราะห์ตัวบทของคริสติอาเน นอร์ด ซึ่งช่วยให้ผู้วิจัยเข้าใจตัวบทอย่างถ่องแท้ แนวทางการแปลแบบตีความของ ฌอง เดอลีล ซึ่งช่วยให้ผู้วิจัยแปลโดยไม่ยึดติดกับรูปศัพท์ของต้นฉบับและเพื่อถ่ายทอดความหมายในภาษาปลายทางได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ความรู้ด้านวัจนลีลาที่ช่วยให้ผู้วิจัยแปลตรงตามเจตนาของผู้เขียนและมีระดับของวัจนลีลาที่สอดคล้องกับต้นฉบับ ความรู้ด้านบทละครและความรู้ด้านประวัติศาสตร์สังคมของอังกฤษสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งช่วยให้ผู้วิจัยเข้าใจภูมิหลังของบทละครเรื่องนี้และความหมายของเนื้อเรื่องอย่างถ่องแท้ ผลการวิจัยของสารนิพนธ์ฉบับนี้แสดงให้เห็นว่าแนวทางและความรู้ข้างต้นเป็นส่วนสาคัญในการสร้างสรรงานแปลที่มีประสิทธิผลและตรงตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานที่ผู้วิจัยตั้งไว้en_US
dc.description.abstractalternativeThis special research aims to study approaches in translating Look Back in Anger, a play by John Osborne. The purpose of this paper is to produce the target text that is equivalent in the stylistic use of the main protagonist and the meaning of the text to the source text. In addition, this paper intends to find out the solutions to translate the proper names and the presuppositions, both of which are the main translation problems and the outstanding speech styles of the play. The hypothesis is that in order to achieve the purpose of the translation of this play, it is necessary to apply certain approaches which are Discourse Analysis by Christiane Nord in order to deeply understand the text, Interpretive Approach by Jean Delisle in order to reverbalize the concepts and use the terms that are accurate and appropriate to target audience, the study of stylistics in order to maintain the author's intentions and the level of styles in the source text, the study of the play elements and the study of historical and social events of Britain after World War II in order to perceive the background of this play and fully understand the meaning of the text. The results of this research show that the aforementioned approaches play an important role in producing the effective translated version of this play in accordance with the purpose and the hypothesis of this research.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบทละครอังกฤษ -- การแปลen_US
dc.subjectการแปลและการตีความen_US
dc.subjectEnglish drama -- Translationsen_US
dc.subjectTranslating and interpretingen_US
dc.titleการแปลบทละครเรื่อง Look Back in Anger ของ John Osborneen_US
dc.title.alternativeTranslation of John Osborne's play Look Back in Angeren_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการแปลและการล่ามen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorCarina.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arts - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prangthaya Vo_tran_2012.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.