Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7913
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ โฆษิตานนท์-
dc.contributor.advisorสมชาย ดารารัตน์-
dc.contributor.authorสุรภี เบญจปัญญาวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-08-29T10:11:22Z-
dc.date.available2008-08-29T10:11:22Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741439202-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7913-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาอิทธิพลของโพลีเมอร์ต่อการเริ่มเดินระบบยูเอเอสบีในการบำบัดน้ำเสียโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม เพื่อหาเกณฑ์การเริ่มเดินระบบอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้แบบจำลองระบบบำบัดน้ำเสียแบบยูเอเอสบีจำนวน 2 ถัง ทำการศึกษาเชิงทดลอง โดยออกแบบเป็นการทดลองเชิงเปรียบเทียบระหว่างถังปฏิกิริยาที่เติม โพลัเมอร์กับถังปฏิกิริยาที่ไม่เติมโพลิเมอร์ ผลการทดลองที่ได้แสดงให้เห็นว่าการเติมโพลีเมอร์ที่ความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อกรัมเอส เอส จะลดเวลาในการเกิดเป็นเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ลง และเพิ่มจำนวนของเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ขึ้น โดยสังเกตได้ในวันที่ 120 ของการทดลอง ที่ระยะเวลาเก็บกักน้ำเสีย 72 ชั่วโมง, อัตรารับภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 1.07-8.57 กรัมซีโอดีต่อลิตรต่อวัน ประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยในถังปฏิกิริยาที่ 1 (ควบคุม) เท่ากับ 93.40% และในถังปฏิกิริยาที่ 2 (เติมโพลีเมอร์) เท่ากับ 94.41% และพบว่าอัตราการผลิตก๊าซชีวภาพ และประสิทธิภาพการผลิตก๊าซสูงขึ้น เมื่อเพิ่มอัตรารับภาระสารอินทรีย์ โดยอัตราการเกิดก๊าซชีวภาพในถังปฏิกิริยาที่ 1 และ 2 มีค่าเท่ากับ 1.959 และ 2.058 ลิตรต่อวันen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the influence of polymer on sludge granulation of Upflow Anaerobic Sludge Blanket (UASB) reactor, treating palm oil mill factory waste water. Two laboratory scale UASB reactors were used to determine the effective criteria for the start-up. This experimental research was designed to be a comparative experiment between the reactor, with and without polymer added. The Laboratory results obtained demonstrated that adding the polymer at 5 mg/gSS could result in shortening of granulation time and enhancement of granulation. Sludge granulation in reactor 2 was observed after day 120 of operation, at hydraulic retention time (HRT) 72 hour, while the organic loading rate (OLR) ranged from 1.07-8.57 gCOD/L-day, the digester performance average in reactor 1 (control) was 93.40% COD removal and reactor 2 (add polymer) was 94.41% COD removal. It was found that both biogas production rate and biogas yield increased when the organic loading increased the reactor 1 had the value of biogas yield of 1.959 m[superscript 3]/day and the reactor 2 had the value of biogas yield of 2.058 m[superscript 3]/dayen
dc.format.extent2831972 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.191-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพen
dc.subjectโพลิเมอร์en
dc.titleผลของการเติมโพลีเมอร์ต่อการเกิดเม็ดตะกอนจุลินทรีย์และการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มโดยใช้ระบบยูเอเอสบีen
dc.title.alternativeEffect of polymer addition on microbial granulation and biogas production from palm oil mill factory wastewater using UASBen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorCharnwit@sc.chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.191-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surapee.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.