Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrawit Janwantanakul-
dc.contributor.advisorRattaporn Sihawong-
dc.contributor.authorSara Rawdeng-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences-
dc.date.accessioned2022-07-01T05:42:29Z-
dc.date.available2022-07-01T05:42:29Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79141-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2021-
dc.description.abstractAging workers has been linked with high prevalence of both musculoskeletal disorders (MSDs) and non-communicable diseases (NCDs). Health status has a significant impact on work ability. This study compared work ability, using the Work Ability Index (WAI), among aging office workers with and without MSDs and NCDs and determined factors associated with WAI scores. A cross-sectional study was conducted among office workers aged between 45-60 years. An online questionnaire was adopted to collect data. Analyses were conducted using Mann-Whitney U test and multivariable logistic regression model. The results of 689 workers, 34%, 13%, 12%, and 41% reported MSDs, NCDs, MSDs + NCDs, and no MSDs / NCDs, respectively, in the past year. Median scores (interquartile range) of WAI were 37.0 (6) for MSDs, 37.0 (4) for NCDs, 34.5 (6) for MSDs + NCDs, and 40.0 (4) for no MSDs / NCDs. Significant difference in WAI scores was found between the MSDs and MSDs + NCDs (p < 0.05); and between the NCDs and MSDs + NCDs (p < 0.05). Female (ORadj 1.77, 95% CI: 1.2 – 2.6), high work experience (ORadj 1.04, 95% CI: 1.0 – 1.1), and low job control (adjusted OR 0.95, 95% CI: 0.9 – 1.0) were associated with reduced WAI scores (WAI ≤ 36). Aging office workers with either MSDs or NCDs had reduced work ability compared to healthy workers. Having MSDs + NCDs further reduced work ability. Attention is needed to develop interventions to reduce the impact of MSDs and NCDs on work ability in aging office workers.-
dc.description.abstractalternativeความชุกของโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพนักงานสำนักงานที่กำลังเข้าสู่วัยสูงอายุนั้นพบว่าอยู่ในระดับสูง และสภาวะสุขภาพส่งผลต่อความสามารถในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการทำงาน โดยใช้ดัชนีวัดความสามารถในการทำงาน (Work Ability Index) ในพนักงานสำนักงานที่กำลังเข้าสู่วัยสูงอายุ ทั้งที่เป็นและไม่เป็นโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รวมถึงค้นหาปัจจัยที่สัมพันธ์กับคะแนนของความสามารถในการทำงาน การศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) ในกลุ่มพนักงานสำนักงานที่มีอายุระหว่าง 45-60 ปี ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบของแมนวิทเนย์ (Mann-Whitney U) และแบบจำลองการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค (multivariable logistic regression model) มีผู้เข้าร่วมการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 689 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่เป็นโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ร้อยละ 34 กลุ่มที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ร้อยละ 13 กลุ่มที่เป็นทั้งสองโรค ร้อยละ 12 และกลุ่มที่มีสุขภาพดี ร้อยละ 41 สำหรับค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการทำงานของกลุ่มโรคที่เป็นโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ เท่ากับ 37 คะแนน กลุ่มที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เท่ากับ 37 คะแนน กลุ่มที่เป็นทั้งสองโรค เท่ากับ 34.5 คะแนน และกลุ่มที่สุขภาพดี เท่ากับ 40 คะแนน เมื่อทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการทำงานระหว่างกลุ่ม พบว่า คะแนนความสามารถในการทำงานของกลุ่มที่เป็นโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อแตกต่างจากกลุ่มที่เป็นทั้งสองโรค และคะแนนความสามารถในการทำงานของกลุ่มที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแตกต่างจากกลุ่มที่เป็นทั้งสองโรค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) สำหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการลดลงของคะแนนความสามารถในการทำงาน (คะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 36) ได้แก่ เพศหญิง (ORadj 1.77, 95% CI: 1.2 – 2.6) ประสบการณ์ในการทำงานสูง (ORadj 1.04, 95% CI: 1.0 – 1.1) และอำนาจการตัดสินใจในงานต่ำ (ORadj 0.95, 95% CI: 0.9 – 1.0) พนักงานสำนักงานที่กำลังเข้าสู่วัยสูงอายุที่เป็นโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อหรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความสามารถในการทำงานที่ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีสุขภาพดี การเป็นทั้งสองโรคทำให้ความสามารถในการทำงานลดลงไปอีก ดังนั้น จึงจำเป็นที่ต้องพัฒนาแนวทางการจัดการเพื่อลดผลกระทบของโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อหรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่อความสามารถในการทำงานในกลุ่มพนักงานสำนักงานที่กำลังเข้าสู่วัยสูงอายุ-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.317-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectMusculoskeletal system -- Diseases-
dc.subjectChronic diseases-
dc.subjectOccupational diseases-
dc.subjectระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก -- โรค-
dc.subjectโรคเรื้อรัง-
dc.subjectโรคเกิดจากอาชีพ-
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงาน-
dc.subject.classificationHealth Professions-
dc.titleA study of work ability and associated factors in aging office workers with non-communicable diseases and musculoskeletal disorders-
dc.title.alternativeการศึกษาความสามารถในการทำงาน และปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสามารถในการทำงานในพนักงานสำนักงานที่กำลังเข้าสู่วัยสูงอายุที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplinePhysical Therapy-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.317-
Appears in Collections:All - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6176656037.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.