Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79699
Title: | Development of speaking teaching activities using communicative language teaching approach through social media for Bhutanese students |
Other Titles: | การพัฒนากิจกรรมการสอนพูดตามแนวคิดการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์สำหรับนักเรียนภูฏาน |
Authors: | Tshetrim Dorji |
Advisors: | Pornpimol Sukavatee |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Education |
Subjects: | English language -- Study and teaching (Secondary) -- Bhutan English language -- Conversation and phrase books ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- ภูฏาน ภาษาอังกฤษ -- บทสนทนาและวลี |
Issue Date: | 2021 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This study aimed to study the effects of teaching activities using communicative language teaching approach through social media on the speaking ability of Bhutanese students and to find out the student’s perception towards teaching activities using communicative language teaching approach through social media. A total of 32 grade 8 students of one of the government higher secondary schools in Samtse district from Bhutan participated in the study. They were selected using purposive sampling technique. A pretest was administered in the first week followed by ten weeks of treatment sessions. Students were subsequently administered a posttest and perception questionnaire. The quantitative result of the study revealed that the students’ posttest mean score in the English-speaking ability test was higher than their pretest mean score at a significant level of .05, indicating that their speaking ability improved significantly after receiving the treatment session. The most developed aspects of speaking ability from the analytical analysis of different aspects of speaking ability from pretest and posttest and weekly speaking tasks posted to the class Facebook page was the improvement of vocabulary and communication strategy. The least developed was the development of grammar. The results obtained from the questionnaire revealed that the students held positive perception towards teaching activities using communicative language teaching approach through social media instruction. The students’ positive perception towards the current instruction was mainly influenced by the ability of the instruction in enhancing self-confidence and motivation, learning from anywhere, providing a flexible and lively learning environment, and creating better interaction. Finally, the students’ positive perception was also influenced by the ability of the current instruction in reducing anxiety associated with learning to speak. |
Other Abstract: | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้กิจกรรมการสอนโดยวิธีการสอนแบบภาษาสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ต่อความสามารถในการพูดของนักเรียนชาวภูฏาน และเพื่อศึกษาการรับรู้ของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการสอนโดยใช้วิธีการสอนภาษาสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จากโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในประเทศภูฏานจำนวน 32 คนเข้าร่วมในการศึกษานี้ กลุ่มตัวอย่างถูกคัดเลือกโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง โดยได้ทำการทดสอบก่อนเรียนในสัปดาห์แรกและใช้วิธีการสอนที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นจำนวนสิบสัปดาห์ หลังจากนั้นนักเรียนได้ทำแบบสอบหลังการเรียนรู้ ผลการศึกษาเชิงปริมาณพบว่าคะแนนเฉลี่ยหลังการทดสอบของนักเรียนในการทดสอบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการทดสอบที่ระดับที่มีนัยสำคัญที่ .05 ซึ่งบ่งชี้ว่าความสามารถในการพูดของนักเรียนดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญหลังจากได้รับการสอน แง่มุมของทักษะการพูดที่ได้รับการพัฒนามากที่สุดจากการวิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนในมุมมองที่แตกต่างกันของทักษะการพูดจากแบบทดสอบก่อน-หลังเรียนและจากภาระงานพูดประจำสัปดาห์ที่ได้ถูกเผยแพร่ในเฟซบุ๊คห้องเรียนคือการพัฒนาทางด้านคำศัพท์และกลยุทธในการสื่อสาร อย่างไรก็ตามด้านที่ถูกพัฒนาน้อยที่สุดคือด้านหลักไวยกรณ์ นอกจากนี้ผลที่ได้จากแบบสอบถามเปิดเผยว่า นักเรียนมีทัษนะคติเชิงบวกต่อการสอนในรูปแบบดังกล่าวโดยได้รับอิทธิพลจากความสามารถของการสอนในการเพิ่มความมั่นใจในตนเองและแรงจูงใจ การเรียนรู้ได้จากทุกที่ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่นและมีชีวิตชีวา และการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีขึ้น ประการสุดท้ายคือการรับรู้ของของนักเรียนเป็นไปในเชิงบวกซึ่งได้รับอิทธิพลจากการสอนในครั้ง ซึ่งส่งผลต่อการลดความวิตกกังวลที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ที่จะพูด |
Description: | Thesis (M.Ed.)--Chulalongkorn University, 2021 |
Degree Name: | Master of Education |
Degree Level: | Master’s Degree |
Degree Discipline: | Teaching English as a Foreign Language |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79699 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.385 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2021.385 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6288017327.pdf | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.