Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79718
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุธนะ ติงศภัทิย์-
dc.contributor.authorศักดา สวัสดิ์วร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-23T04:32:13Z-
dc.date.available2022-07-23T04:32:13Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79718-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เปรียบเทียบการทรงตัวและทักษะการรับลูกเสิร์ฟ ก่อนและหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลอง 2) เปรียบเทียบการทรงตัวและทักษะการรับลูกเสิร์ฟ หลังการทดลองระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองกับนักเรียนกลุ่มควบคุม ตัวอย่างวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–6  ซึ่งเป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลชายหาดตัวแทนโรงเรียน จำนวน 30 คน ดำเนินการทดลองระยะเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน (วันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์) วันละ 30 นาที วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยด้วยค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของการทรงตัวและทักษะการรับลูกเสิร์ฟ หลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ค่าเฉลี่ยของการทรงตัวและทักษะการรับลูกเสิร์ฟ หลังการทดลองระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ว่า โปรแกรมการฝึกกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวโดยใช้หลักการความก้าวหน้าสามารถพัฒนาการทรงตัวแบบอยู่กับที่ การทรงตัวแบบเคลื่อนที่ และทักษะการรับลูกเสิร์ฟของนักเรียนมัธยมศึกษา ทำให้นักเรียนมีการทรงตัวและทักษะการรับลูกเสิร์ฟที่ดีขึ้น ส่งผลให้แสดงความสามารถและศักยภาพออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนำมาซึ่งความความเป็นเลิศในกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1) to compare balance and receiving skill before and after of an experimental group, and 2) to compare balance and receiving skill between an experimental group and a control group after implementation. Thirty students participated in the study. An additional 30-min core muscle training program was performed three days a week for eight weeks (on Mondays, Wednesdays and Fridays). The data were analyzed using mean, standard deviations and t-tests The findings were as follows: 1) the mean of the balance and receiving skill after treatment of the experimental group was higher than before the experiment at the significance level of .05; and 2) the mean of the balance and receiving skill after the experiment of the experimental group students was higher than the control group at a significance level of .05.  Conclusion: a core muscle training program using progression principle leads the students to better static balance, dynamic balance and receiving skill in which they can use these skills to be excellent beach volleyball players.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.1105-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleผลของโปรแกรมการฝึกกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวโดยใช้หลักการความก้าวหน้า​ที่มีต่อการทรงตัวและทักษะการรับลูกเสิร์ฟในกีฬาวอลเลย์บอลชายหาดของนักเรียนมัธยมศึกษา-
dc.title.alternativeEffects of core muscle training program using progression principle on balancing and receiving skills in beach volleyball of secondary school students-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.1105-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380164527.pdf7.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.