Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79818
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กอบชัย ภัทรกุลวณิชย์ | - |
dc.contributor.author | ชื่นสุมน บุญเจริญ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-23T04:51:15Z | - |
dc.date.available | 2022-07-23T04:51:15Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79818 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 | - |
dc.description.abstract | สามารถคัดแยกแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีม่วงแดงชนิดไม่สะสมกำมะถันจากแอกทิเวเทดสลัดจ์ของระบบบำบัดน้ำเสียเเบบตะกอนเร่ง โดยเพาะเลี้ยงภายใต้ภาวะ microaerophilic photoheterotrophic ที่ความเข้มเเสง 3,000-3,500 ลักซ์ ได้จำนวนทั้งสิ้น 98 ไอโซเลต แบคทีเรียสังเคราะห์แสงสายพันธุ์ AS85 สามารถย่อยสลาย 1% ดีเซลได้ 88.28 ± 1.53 เปอร์เซ็นต์ ในระยะเวลา 14 วัน ภายใต้ภาวะ chemoheterotroph ในขณะที่ดีเซลในชุดควบคุมลดลงเพียง 21.87 ± 4.04 เปอร์เซ็นต์ จำนวนแบคทีเรียเพิ่มขึ้นจาก 8 log CFU/มิลลิลิตร จนมีค่าประมาณ 9 log CFU/มิลลิลิตร เมื่อสิ้นสุดการทดลอง สายพันธุ์ AS85 ไม่ย่อยสลายดีเซลในภาวะ photoheterotroph แต่ย่อยสลาย 2, 3, และ 5% ดีเซลได้ 51.96 ± 1.05% 43.59 ± 2.41% และ 30.28 ± 4.17% ตามลำดับ สายพันธุ์ AS85 เมื่อทำงานร่วมกับแบคทีเรียประจำถิ่นในน้ำสามารถย่อยสลาย 1% ดีเซลในตัวอย่างน้ำจากคลองรังสิตประยูรศักดิ์ได้ 79.68 ± 1.58% ภายใน 14 วัน รวมทั้งลดค่า BOD และ COD ได้ 44.23% และ 87.78% ตามลำดับ จากการตรวจสอบยีน pufM ซึ่งเป็นชิ้นส่วนดีเอ็นเอที่ประมวลรหัสโปรตีนบริเวณ photosynthetic reaction center ของแบคทีเรียสังเคราะห์แสงด้วย PCR พบว่า AS85 มีการเเสดงออกของยีน pufM ซึ่งพบทั้งในเซลล์ที่เลี้ยงในภาวะ chemoheterotroph และ photoheterotroph การวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ 16S rDNA และเปรียบเทียบกับฐานข้อมูล GenBank พบว่า สายพันธุ์ AS85 มีความคลายคลึงกับ Rhodopseudomonas palustris สายพันธุ์ ATCC 17003 ถึง 99% | - |
dc.description.abstractalternative | Ninety-eight isolates of purple non-sulfur bacteria (PNSB) have been isolated from activated sludge from wastewater treatment by enrichment method under light microaerophilic photoheterotrophic condition. PNBS strain AS85 could degrade 1% diesel under chemoheterotrophic condition 88.28 ± 1.53% within 14 days whereas control diesel was reduced only 21.87 ± 4.04%. Bacterial cell number started from 8 log CFU/ml and remained 9 log CFU/ml until the end of experiment. AS85 could not utilize diesel under photoheterotrophic condition but could degrade 2, 3 and 5% diesel for 51.96 ± 1.05%, 43.59 ± 2.41% and 30.28 ± 4.17%, respectively. AS85 together with indigenous mcroorganisms could reduce 1% diesel in freshwater from Rungsit canal for 79.68 ± 1.58 % as well as BOD COD to 44.23% and 87.78%, respectively within 14 days. AS85 grown under chemoheterotroph or photoheterotroph contained pufM gene and could be detected by PCR. 16S rDNA sequence analysis revealed that AS85 showed the highest similarity (99%) to Rhodopseudomonas palustris ATCC 17003. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.334 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | แบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีม่วงแดงชนิดไม่สะสมกำมะถันจากแอกทิเวเทดสลัดจ์เพื่อการย่อยสลายดีเซล | - |
dc.title.alternative | Photosynthetic purple non-sulfur bacteria from activated sludge for diesel degradation | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2016.334 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5572223323.pdf | 3.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.