Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79982
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Doonyapong Wongsawaeng | - |
dc.contributor.author | Kunlanan Puprasit | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-23T05:01:20Z | - |
dc.date.available | 2022-07-23T05:01:20Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79982 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2021 | - |
dc.description.abstract | Margarine is a widely used raw material in the food and bakery industry. A successfully novel technique for refined palm olein hydrogenation to free trans-fat margarine production using non-thermal dielectric barrier discharge (DBD) plasma has been demonstrated. The new green method does not use chemicals as a catalyst, thus making it extremely environmentally friendly. This also performs well at room temperature and atmospheric pressure making it easier to manage. Two-electrode arrangement patterns were studied in this research: parallel plate and needle-in-tube. The results showed that using the parallel plate electrodes, 1.44% trans-fat (was detected) and a trans-fat generation rate of only 0.07% per percent reduction in iodine, 6.12 times lower than conventional margarine production methods use chemicals as a catalyst, operated at high temperature and pressure. At the same time, the needle-in-tube electrode arrangement did not detect trans-fats and had a higher reaction rate than the parallel-plate configuration. Zero trans-fat is the main objective of this research study. Thus, the needle-in-tube was more suitable for margarine production by hydrogenation than the parallel-plate configuration. Production estimates were made considering only the cost of raw materials, electricity and H2 gas. The parallel-plate DBD plasma costed 1.56 USD per liter, which was 8.25 times cheaper than the needle-in-tube DBD plasma, which costed 12.87 USD per liter. Consequently, the majority of the cost was electricity. This method was compared to commercially available margarine in Thailand priced at 2.40 – 4.50 USD per liter, demonstrating cost effectiveness. Moreover, the production efficiency can be improved by designing a high voltage, high-frequency power supply with lower power consumption. | - |
dc.description.abstractalternative | มาการีนเป็นวัตถุดิบที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารและเบเกอรี่ จึงได้ทำการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีพลาสมาอุณหภูมิต่ำแบบไดอิเลคทริคแบริเออร์ดิสชาร์จพลาสมาในการผลิดมาการีนเพื่อไม่ก่อเกิดไขมันทรานส์ได้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ด้วยกระบวนการการผลิตแบบใหม่นี้ ไม่ใช้สารเคมีเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาจึงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาก อีกทั้งยังสามารถผลิตมาการีนได้ที่อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศจึงง่ายต่อการจัดการทำให้มีต้นทุนสำหรับอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตต่ำลง งานวิจัยนี้ได้ศึกษารูปแบบกการจัดเรียงขั้วอิเล็กโทรดซึ่งแบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่ แบบแผ่นคู่ขนานและแบบเข็มครอบด้วยท่อแก้ว จากการทดลองพบว่าการใช้อิเล็กโทรดแบบแผ่นคู่ขนานพบไขมันทรานส์ 1.44% และอัตราการเกิดไขมันทรานส์อยู่ที่ 0.07% ต่อเปอเซนต์การลดลงของค่าไอโอดีน ซึ่งต่ำกว่าวิธีการผลิตมาการีนโดยทั่วไปที่ใช้สารเคมีเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาและผลิตที่อุณหภูมิสูง ความดันสูงอยู่ถึง 6.12 เท่า ในขณะที่การเรียงอิเล็กโทรดแบบเข็มครอบด้วยท่อแก้วมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาไวกว่าแบบแผ่นคู่ขนานและไม่ก่อให้เกิดไขมันทรานส์ ซึ่งเป็นจุดประสงค์หลักในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ดังนั้นการจัดเรียงขั้วอิเล็กโทรดแบบเข็มครอบด้วยท่อจึงเป็นรูปแบบที่เหมาะสมในการผลิตมาการีนมากว่าแบบแผ่นคู่ขนาน จากผลการวิเคราะห์เศษฐศาสาตร์โดยพิจารณาเฉพาะค่าน้ำมันปาล์ม, ค่าไฟฟ้าที่ใช้ในการผลิตพลาสมา และก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันนั่น ทำให้ต้นทุนในการผลิตมาการีนในแบบแผ่นคู่ขนานมีต้นทุน 1.56 ดอลลาร์สหรัฐต่อลิตร ซึ่งต่ำกว่าแบบเข็มที่ครอบด้วยท่อแก้วอยู่ถึง 8.25 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับราคามาการีนที่มีขายทั่วไปในประเทศไทยจะมีราคาที่ 2.40 – 4.50 ดอลลาร์สหรัฐต่อลิตรจึงถือว่ามีความคุ้มทุนในการผลิต ทั้งนี้ ต้นทุนการผลิตส่วนใหญ่มาจากค่าไฟที่ใช้ในการสร้างสถานะพลาสมา หากต้องการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสามารถทำได้โดยการออกแบบระบบการจ่ายไฟให้ได้ผลรวมของกำลังไฟฟ้าที่ใช้ต่ำลงก็จะลดต้นทุนการผลิตได้อีกด้วย | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.277 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject.classification | Engineering | - |
dc.title | Production of low trans-fatty acid margarine by Plasma Hydrogenation | - |
dc.title.alternative | การผลิตมาการีนที่มีกรดไขมันทรานส์ต่ำด้วยพลาสมาไฮโดรจีเนชัน | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | - |
dc.degree.level | Doctoral Degree | - |
dc.degree.discipline | Nuclear Engineering | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2021.277 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6171450121.pdf | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.