Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80197
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sujitra Vassanadumrongdee | - |
dc.contributor.author | Boonchanit Wongprapinkul | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-23T05:25:52Z | - |
dc.date.available | 2022-07-23T05:25:52Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80197 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2021 | - |
dc.description.abstract | Online food delivery platforms have demonstrated their financial success in the Thai market during the past few years. As a result, 560 - 2,856 million pieces of Single-use Plastics (SUPs) are expected each year. Furthermore, the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) caused a dilemma in sustainable consumption and intensified the plastic waste situation. The social dilemma poses difficult short-term choices between health and the environment. The concern is that while Thais have started to adopt new sustainable lifestyles with the no-plastic-bag policy, environmentalists worry that this COVID disruption will have a long-term behavioural impact on SUPs consumption habits. Consuming single-use packaging and cutlery is regarded as habitual consumption, where anomalies deviate decisions from rational (sustainable) consumption choices. Moreover, individual consumption decisions occur in the market with failures, where the decisions are not optimized. Green products are more expensive, green information is insufficient, and the waste management system is not efficient. Taking into consideration the micro and macro-limitations of achieving sustainable consumption, this study proposes initiatives to reduce and redirect the current set of consumption practices. These initiatives are based on behavioral instruments, market-based instruments, infrastructure and system provision, and green marketing approaches. Based on these rationales, this research aims to understand the green profiles of each consumer group through cluster analysis based on a dilemma in sustainable consumption. It also aims to understand the dynamics in the multi-stakeholder system and identify leverage points in the system. The proposed initiatives were tested for their practicality and potential to reduce SUPs in the food delivery business. Ultimately, this study proposes strategic recommendations to reduce SUP in the food delivery business. The recommendations cover segment-specific managerial implications as well as system-wide measures with policy implications that would benefit the food delivery platforms, merchant partners, civil society, and policy makers. The survey questionnaire was mainly conducted online using both quantitative and qualitative methods, including cluster analysis, system dynamic analysis, and thematic analysis. The findings suggested a three-cluster solution. Each cluster was found to be distinct in behavioral, environmental psychological, and demographic profiles. The managerial implication suggested that the initiatives should target the green cluster (cluster 3) and the general consumers (cluster 1) with different incentive schemes. System analysis revealed that ‘post-consumption system’, ‘economic instruments, law and regulations’, ‘benefit alignment’ and ‘cost and profit’ were high leverage points in the system that need to be improved. The study proposed setting ‘no cutlery’ as a default option, and adding ‘eco-label’ as short-term initiatives, while long-term strategies involve ‘eco-packaging subsidies’ and ‘deposit-return scheme’. | - |
dc.description.abstractalternative | ในช่วงปีที่ผ่านมา ธุรกิจจัดส่งอาหารออนไลน์ประสบความสำเร็จในตลาดประเทศไทยโดยมีอัตราการเติบโตทางธุรกิจในระดับสูง การเติบโตของธุรกิจนี้ก่อให้เกิดขยะแบบใช้ครั้งเดียวราว 560 - 2,856 ชิ้นต่อปี นอกจากนี้ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความลังเลในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวด้วยเหตุผลด้านการป้องกันเชื้อโรค ผู้บริโภคเผชิญเหตุการณ์ที่ต้องตัดสินใจระหว่างการบริโภคที่ส่งผลต่อสุขภาพของตนเองซึ่งเป็นเรื่องเร่งด่วน และการบริโภคที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวมซึ่งยังไม่มีความแน่นอน ดังนั้น การบริโภคผลิตภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวในช่วงการแพร่ระบาดจึงกลายเป็นเรื่องปกติที่ยอมรับได้ ขณะที่คนไทยเริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอย่างยั่งยืนตามมาตรการงดแจกถุงพลาสติก การแพร่ระบาดของโควิด-19 นำไปสู่ข้อกังวลในเรื่องผลกระทบต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในระยะยาว โดยในเชิงทฤษฎี การบริโภคบรรจุภัณฑ์และช้อนส้อมพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวเป็นการบริโภคบนพื้นฐานของความเคยชินซึ่งมีปัจจัยหลากหลายที่ส่งผลให้การตัดสินใจบริโภคไม่ได้เป็นไปอย่างมีเหตุผล นอกจากนี้ การตัดสินใจบริโภคยังเกิดขึ้นในตลาดที่มีความล้มเหลว กล่าวคือผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีราคาสูงกว่าผลิตภัณฑ์ทั่วไป การเข้าถึงข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมเป็นไปอย่างจำกัด และระบบการจัดการขยะยังขาดประสิทธิภาพ ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้การตัดสินใจบริโภคไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อพิจารณาถึงความท้าทายในระดับจุลภาคและมหภาค งานวิจัยชิ้นนี้จึงเสนอแนะมาตรการในการลดการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวในธุรกิจจัดส่งอาหารผ่านเครื่องมือเชิงพฤติกรรม เครื่องมือทางการตลาด การพัฒนาระบบและโครงสร้างพื้นฐาน และการตลาดสีเขียว งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะด้านสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคแต่ละกลุ่มบนเงื่อนไขของความลังเลในการบริโภคอย่างยั่งยืน รวมถึงศึกษาพลวัตของระบบที่ประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่หลากหลายเพื่อระบบจุดคานงัด (leverage points) ในระบบ โดยได้นำมาตรการในการลดการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวในธุรกิจจัดส่งอาหารที่ได้เสนอมาวิเคราะห์ถึงประสิทธิภาพและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ โดยข้อมูลเหล่านี้นำไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงการจัดการซึ่งรวมถึงมาตรการเฉพาะกลุ่มและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ให้บริการจัดส่งอาหาร ร้านอาหาร ภาคประชาสังคม และผู้ออกนโยบายในการลดการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวในธุรกิจจัดส่งอาหาร งานวิจัยชิ้นนี้เก็บข้อมูลผ่านช่องทางออนไลน์เป็นหลัก โดยการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณซึ่งใช้วิธีการวิเคราะห์กลุ่ม (cluster analysis) การวิเคราะห์พลวัตระบบ (system dynamic analysis) และการวิเคราะห์แก่นสาระ (thematic analysis) ผลวิจัยพบว่ากลุ่มผู้ใช้บริการจัดส่งอาหารสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มตามคุณลักษณะด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งทั้ง 3 กลุ่มมีความแตกต่างกันในเชิงพฤติกรรม จิตวิทยา และประชากรศาสตร์ โดยในเชิงการจัดการ งานวิจัยเสนอให้เน้นกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มผู้บริโภคสีเขียว (กลุ่ม 3) และกลุ่มผู้บริโภคทั่วไป (กลุ่ม 1) ผ่านการให้สิ่งจูงใจในรูปแบบที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ การวิเคราะห์ระบบชี้ให้เห็นว่าจุดคานงัดที่สำคัญได้แก่ ระบบการจัดการขยะหลังการบริโภค เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ กฎหมายและระเบียบ การได้ประโยชน์ร่วมกันของทุกภาคส่วน และต้นทุนและกำไร งานวิจัยชิ้นนี้เสนอมาตรการการลดการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวในธุรกิจจัดส่งอาหารในระยะสั้น ได้แก่ การตั้งค่า ‘ไม่รับช้อนส้อม’ เป็นค่าเริ่มต้นในระบบ และการเพิ่ม ‘ฉลากเขียว’ สำหรับร้านค้าสีเขียว และระยะยาว ได้แก่ การอุดหนุนบรรจุภัณฑ์สีเขียว (subsidy) และการพัฒนาระบบมัดจำ-คืนสินค้า (deposit-return scheme) | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.154 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.title | Investigating sustainable consumption practices: a case of single-use plastics in online food delivery market, Thailand | - |
dc.title.alternative | การสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งในธุรกิจจัดส่งอาหารออนไลน์ ประเทศไทย | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | - |
dc.degree.level | Doctoral Degree | - |
dc.degree.discipline | Environment, Development and Sustainability | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2021.154 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6187808020.pdf | 16.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.