Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80489
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารทัศน์ โมกขมรรคกุล-
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์-
dc.contributor.authorวาทินี ปทุมผาย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2022-09-15T06:31:07Z-
dc.date.available2022-09-15T06:31:07Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80489-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาความคลาดเคลื่อนของวัตถุดิบคงคลังบริษัทแปรรูปอาหารแช่แข็ง ที่ส่งผลกระทบต่อแผนการผลิตทำให้ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ ต้องขอเลื่อนแผนการส่งออก ทำให้ระดับความพึงพอใจของลูกค้าลดลง การศึกษาปัญหาใช้วิธีวิเคราะห์กิจกรรมในกระบวนการไหลของวัตถุดิบแต่ละแผนกที่มีส่วนเกี่ยวข้องจากการสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกและการสำรวจข้อมูลภาคสนามในการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ตั้งแต่การวางแผนวัตถุดิบ จนวัตถุดิบถูกผลิตเป็นสินค้า ผลจากการศึกษาพบว่าปัญหาความคลาดเคลื่อนของวัตถุดิบเกิดจากปัจจัยหลัก 2 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยด้านคน เช่น การบันทึกข้อมูลการรับวัตถุดิบผิดพลาด 2) ปัจจัยด้านขั้นตอนการทำงาน จากการทำงานร่วมกันหลายระบบส่งผลให้การถ่ายโอนข้อมูลไม่สอดคล้องกัน จากการศึกษาในครั้งนี้จึงได้เสนอแนะแนวทางการลดความคลาดเคลื่อนโดย 1) การนำระบบบาร์โค้ดมาใช้เพื่อลดข้อผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลการรับวัตถุดิบและการจัดเก็บวัตถุดิบ 2) การใช้ ABC Classification ในการกำหนดวงรอบการนับวัตถุดิบและการปรับยอด 3) การกำหนดความถี่การถ่ายโอนข้อมูลอัตโนมัติของระบบให้เหมาะสม 4) การก่อสร้างพื้นที่เพิ่มเติมเพื่อรองรับปริมาณวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study is to identify problems of raw material inventory discrepancy experienced by a frozen processed food company causing production disruption, shipment delay and poor customer service. The study investigates and collects field operation data relevant to activities in the business process spanning from the planning of raw materials to the production of finished products. The study finds that problems with inventory discrepancy are basically personal-related (employee error in inventory recording) and procedure-related (due to the use of multiple but non-aligned computerized record systems). The study proposes 1) the investigation into the application of a bar code system to eliminate the inventory recording error during the receiving and put-away of raw materials, 2) the use of ABC classification to plan for cycle counting and inventory record adjusting, 3) procedures to timely synchronize the data recorded in separate systems, and 4) the construction of additional spaces to efficiently accommodate the growing stock of raw materials.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.238-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัตถุดิบen_US
dc.subjectการวางแผนการผลิตen_US
dc.subjectการควบคุมสินค้าคงคลังen_US
dc.subjectRaw materialsen_US
dc.subjectProduction planningen_US
dc.subjectInventory controlen_US
dc.titleการลดความคลาดเคลื่อนของวัตถุดิบคงคลัง กรณีศึกษาบริษัทแปรรูปอาหารแช่แข็งen_US
dc.title.alternativeReducing raw material inventory discrepancy: A case study of a frozen processed food companyen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.238-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380082820_Wathinee Pat_IS_2564.pdfสารนิพนธ์ (ให้บริการเฉพาะบทคัดย่อ)4.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.