Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80650
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริอร เศรษฐมานิต-
dc.contributor.authorชุติกาญจน์ กองทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2022-10-12T09:08:44Z-
dc.date.available2022-10-12T09:08:44Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80650-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบต้นทุนค่าใช้จ่ายในการจัดเรียงและขนส่งสินค้าระหว่างการจัดเรียงพาเลทสินค้าชั้นเดียวบนรถบรรทุกโดยการบรรจุกล่องสินค้าลงบนพาเลทไม้ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันกับการจัดเรียงพาเลทสินค้าซ้อนกัน 2 ชั้นวิธีใหม่โดยการนำกล่องสินค้าบรรจุลงในตะกร้าเหล็กแล้ววางตะกร้าเหล็กซ้อนกัน 2 ชั้นบนรถบรรทุก งานวิจัยนี้ประกอบไปด้วยการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลในอดีตที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าและการสัมภาษณ์เชิงลึกกับบุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานจัดเรียง จัดส่งและทำรับสินค้า แล้วนำข้อมูลที่รวบรวมได้นั้นมาคำนวณประมาณการความต้องการการขนส่งและต้นทุนค่าใช้จ่ายในการขนส่งเปรียบเทียบระหว่างวิธีการจัดเรียงสินค้าทั้ง 2 วิธี ผลการวิจัยพบว่า การปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดเรียงสินค้าจากการวางพาเลทสินค้าชั้นเดียวมาเป็นการจัดเรียงกล่องสินค้าลงตะกร้าเหล็กและจัดเรียงตะกร้าเหล็กซ้อนกัน 2 ชั้นบนรถบรรทุกนั้น ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขนส่งได้ถึง 5,024,923 บาทต่อปีหรือประมาณ 52 เปอร์เซ็น ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางให้บริษัทกรณีศึกษานำไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการดำเงินงาน รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านการขนส่งสินค้าen_US
dc.description.abstractalternativeThe research has been created to analyze and compare transportation cost between two methodologies of pallet stacking in a truck container which are single stacking pallet that currently in use and double stacking pallet using metal basket to contain cargo as a new solution. This research uses both quantitative and qualitative methods to identify the transportation cost. The data collection is conducted by gathering historical data of transportation and in-Depth interview with related position to the packing, shipping, and receiving process. The gathered data is used to forecast demand of transportation and compare the total transportation cost of two stacking methods. The result of the research showed that changing of pallet stacking method from single to double stacking using metal basket creates cost saving per year in the amount of 5,024,923 baht or about 52 percent. This is to be used to guide a company to manage resources in more efficient way and improve work process to reduce cost of transportation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.241-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขนส่งสินค้า -- ต้นทุนen_US
dc.subjectCommercial products -- Transportation -- Costsen_US
dc.titleการเปรียบเทียบต้นทุนการขนส่งระหว่างการจัดเรียงพาเลทสินค้าชั้นเดียวบนรถบรรทุกกับการจัดเรียงพาเลทสินค้าซ้อนกัน 2 ชั้นen_US
dc.title.alternativeTransportation cost comparison between cost of single-stacking pallet and double-stacking palleten_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.241-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280010520_Chutikarn.pdf3.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.