Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80778
Title: Health risk assessment of toxic metals in commonly consumed salad leafy vegetables in Bangkok
Other Titles: การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพของโลหะมีพิษในสลัดผักใบเชียวในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
Authors: Zin Htoo Hlyan
Advisors: Penradee Chanpiwat
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Issue Date: 2021
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The objectives of this study were 1) to investigate concentrations of toxic metals including As, Cd, and Pb in the commonly consumed salad leafy vegetables which were sold in Bangkok, and 2) to assess potential human health risks of As, Cd, and Pb exposure via salad leafy vegetables consumption. A total of 120 samples were randomly collected from local fresh markets in Bangkok. The total concentrations of toxic metals were determined by an inductively coupled plasma mass spectroscopy (ICP-MS). Total concentrations of As, Cd and Pb in coral lettuce (CL), red coral (RC) and green oak (GO) for soil cultivation varied from 0.0207 to 0.2603 mg/kg, 0.0280 to 2.4862 mg/kg, and 0.0174 to 0.5314 mg/kg, respectively. For the hydroponic vegetables, total concentrations of As, Cd and Pb ranged from 0.0225 to 0.0943 mg/kg, 0.0223 to 0.4168 mg/kg, and 0.0095 to 0.3091 mg/kg, respectively. According to the health risk assessment, the HQ values of As, Cd, and Pb ranked in the following order: adults > adolescents > children. For soil cultivation, the average HQ values of As, Cd and Pb were 0.19 to 0.80, 0.24 to 2.29, and 0.04 to 0.14. Meanwhile, the average HQ values of As, Cd and Pb exposure from the hydroponically grown salad vegetables were 0.13 to 0.30, 0.11 to 0.38, and 0.02 to 0.08, respectively. According to the HQ values, Cd in RC consumption was higher than the acceptable non-cancer risk of 1 (HQ≥1). On the other hand, the GO and CL were safe for consumption as the HQ values for As and Pb were lower than 1 (HQ<1). As a consequence of the regular lettuce consumption, the adult population may develop non-cancer health risks (e.g., diabetes, kidney disease, and heart attack).  
Other Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ 1) เพื่อตรวจวัดความเข้มข้นของโลหะมีพิษ (สารหนู แคดเมียม และตะกั่ว) ในผักสลัดใบเขียวที่เป็นที่นิยมบริโภคและขายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และ 2) เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์จากการรับสัมผัสสารหนู แคดเมียม และตะกั่ว ผ่านการบริโภคผักสลัดใบเขียว การศึกษาได้สุ่มเก็บตัวอย่างผักสลัดใบเขียวทั้งหมด 120 ตัวอย่างจากตลาดสดในพื้นที่ต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร และทำการวิเคราะห์ความเข้มข้นทั้งหมดของโลหะมีพิษด้วยเครื่อง Inductively coupled plasma mass spectroscopy (ICP-MS) ผลการศึกษาปริมาณความเข้มข้นทั้งหมดของสารหนู แคดเมียม และตะกั่วในผักกาดหอมแดง (Red Coral) กรีนโอ๊ค (Green Oak) และผักกาดหอม (Coral Lettuce) ที่เพาะปลูกในดินนั้นมีค่าอยู่ระหว่าง 0.0064 ถึง 0.2603 มิลลิกรัม/กิโลกรัม, 0.0216 ถึง 2.4862 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ 0.0151 ถึง 0.5314 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลำดับ ในขณะที่ความเข้มข้นทั้งหมดสารหนู แคดเมียม และตะกั่วในผักกาดหอมแดง กรีนโอ๊ค และผักกาดหอมที่เพาะปลูกด้วยระบบไฮโดรปอนิกส์นั้นค่าอยู่ระหว่าง 0.0054 ถึง 0.0990 มิลลิกรัม/กิโลกรัม, 0.0223 ถึง 0.4168 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ 0.0095 ถึง 0.0509 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลำดับ ผลการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคผักสลัดใบเขียว พบว่า ค่าความเสี่ยงของผลกระทบทางสุขภาพที่มิใช่มะเร็ง (HQ) มีค่าเรียงลำดับจากสูงไปต่ำในกลุ่มประชากรผู้ใหญ่ > วัยรุ่น > เด็ก โดยที่ค่าเฉลี่ยความเสี่ยงของผลกระทบทางสุขภาพที่มิใช่มะเร็งจากการรับสัมผัสสารหนู แคดมียม และตะกั่วในผักสลัดใบเขียวที่เพาะปลูกในดิน มีค่า 0.19 ถึง 0.80, 0.24 ถึง 2.29 และ 0.04 ถึง 0.14 ตามลำดับ ในขณะที่ค่าเฉลี่ยความเสี่ยงของผลกระทบทางสุขภาพที่มิใช่มะเร็งจากการรับสัมผัสสารหนู แคดมียม และตะกั่วในผักสลัดใบเขียวที่เพาะปลูกด้วยระบบไฮโดรปอนิกส์ มีค่า 0.13 ถึง 0.30, 0.11 ถึง 0.38 และ 0.02 ถึง 0.08 ตามลำดับ และพบว่าแคดเมียมในผักกาดหอมแดงนั้นมีค่าความเสี่ยงของผลกระ ทบทางสุขภาพที่มิใช่มะเร็งเกินเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (HQ≥1) ส่วนค่าความเสี่ยงของผลกระทบทางสุขภาพที่มิใช่ม ะเร็งจากการรับสัมผัสสารหนูและตะกั่วในกรีนโอ๊คและผักกาดหอมนั้นมีค่าต่ำกว่า 1ดังนั้นการบริโภคผักสลัดใบเขียวเป็นประจำในประชากรผู้ใหญ่นั้นอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพโดยเฉพาะในส่วนของโรคที่มิใช่มะเร็งได้
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2021
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master’s Degree
Degree Discipline: Hazardous Substance and Environmental Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80778
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.195
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2021.195
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6288505320.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.