Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80917
Title: Chemical constituents of fan-si abutilon indicum stems
Other Titles: องค์ประกอบทางเคมีของลำต้นฟันสี Abutilon indicum
Authors: Arum Restu Widyasti
Advisors: Surachai Pornpakakul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Issue Date: 2021
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study aimed to isolate secondary metabolites from the stems of Abutilon indicum and to evaluate their α-glucosidase, pancreatic lipase, α-chymotrypsin inhibitory activity. Chromatographic fractionation of the n-hexane crude extracts led to the isolation of three known metabolite (1-3). The crude extract from all parts of the plant were evaluated for inhibitory activity on the alpha-glucosidase enzyme. The DCM-soluble roots were active with 10.2% at 25 μg/mL. The hexane and MeOH-soluble stems were active with 11.0% at 25 μg/mL and 8.0% at 0.25 μg/mL. The hexane, DCM, and MeOH-soluble leaves are active with 20.2% at 0.025 μg/mL; 20.0% at 0.025 μg/mL; and 14.6% at 2.5 μg/mL, respectively. Furthermore, the phytochemicals of A. indicum were studied for its interaction against α-glucosidase, pancreatic lipase, α-chymotrypsin through molecular docking. Based on the in silico study, ADME investigation, and toxicity prediction, nine compounds (2, 8, 11, 12, 13, 15, 17, 18, and 19) out of 66 compounds were potential to be developed as novel inhibitor for α-glucosidase, human pancreatic lipase, and α-chymotrypsin. The result demonstrated that isolated compounds from A. indicum potential to be anti-diabetes, anti-obesity, and anti-ulcer.
Other Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแยกสารทุติยภูมิจากส่วนลำต้นของต้นครอบฟันสี (Abutilon indicum) และเพื่อประเมินฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส ไลเปสจากตับอ่อน และแอลฟาไคโมทริปซิน การแยกสารสกัดหยาบเฮกเซนด้วยเทคนิคโครมาโท กราฟีนำไปสู่การแยกสารเมตาโบไลต์ที่รู้จัก 3 ชนิด (1-3) โดยสารสกัดหยาบจากทุกส่วนของต้นครอบฟันสีได้รับการประเมินฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส พบว่าสารสกัดไดคลอโรมีเทนจากส่วนรากมีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ร้อยละ 10.2 ที่ความเข้มข้น 25 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร สารสกัดเฮกเซนและเมทานอลจากส่วนก้าน มีฤทธิ์ยับยั้งร้อยละ 11.0 ที่ 25 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร และร้อยละ 8.0 ที่ 0.25 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร  สารสกัดเฮกเซน ไดคลอโรมีเทน และเมทานอลจากส่วนใบ มีฤทธิ์ยับยั้งร้อยละ 20.2 ที่ 0.025 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร  ร้อยละ 20.0 ที่ 0.025 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร และร้อยละ 14.6 ที่ 2.5 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ นอกจากนี้ไฟโตเคมิคอลของต้นครอบสีฟันยังได้รับการศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยายับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส  ไลเปสจากตับอ่อน และแอลฟาไคโมทริปซินด้วยวิธี Molecular docking จากการศึกษาทาง In silico  การตรวจสอบ ADME และการทำนายความเป็นพิษของสารประกอบ 66 ชนิดพบว่าสารประกอบ 9 ชนิด (2  8  11  12  13  15  17  18 และ 19) มีโอกาสที่จะพัฒนาเป็นตัวยับยั้งแบบใหม่ในการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส  ไลเปสจากตับอ่อน และแอลฟาไคโมทริปซิน ผลการศึกษานี้พบว่าสารประกอบที่แยกได้จากต้นครอบฟันสีมีฤทธิ์ต้านเบาหวาน ลดความอ้วน และป้องกันแผลในกระเพาะอาหาร
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2021
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80917
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.63
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2021.63
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6272027823.pdf19.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.